• Description 1

องค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี

การนำแผนพัฒนาสามปีไปสู่การปฏิบัติและการติดตามประเมินผล

**********************************

                   การติดตามและประเมินผลเป็นกระบวนการขั้นตอนที่สำคัญอย่างหนึ่งในการดำเนินการพัฒนา ดังนั้น   จึงจำเป็นต้องมีองค์กรที่ทำหน้าที่ติดตามและประเมินผลการพัฒนาซึ่งระเบียบกระทรวงมหาดไทย   ว่าด้วยการจัดทำและประสานแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.. 2548   ได้กำหนดให้มีคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา ซึ่งจะทำให้การติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี   เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ สามารถวัดผลและวัดความสำเร็จของโครงการ   เพื่อนำไปใช้การแก้ไขปรับปรุงการปฏิบัติงานได้อย่างแท้จริง

                   จุดมุ่งหมายสำคัญของการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาสามปี   คือ การประเมินว่ามีการนำยุทธศาสตร์ไปปฏิบัติอย่างแท้จริงเพียงใด   และได้ผลเป็นอย่างไร   เพื่อที่จะสามารถวัดผลสัมฤทธิ์ของแผนพัฒนาสามปีได้และนำไปสู่การปฏิบัติที่มีประสิทธิภาพตรงตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่ได้วางไว้

6.1 องค์กรที่รับผิดชอบในการติดตามประเมินผล

                   องค์กรที่รับผิดชอบในการติดตามและประเมินผล ซ่งตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำและประสานแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.. 2548 กำหนดให้มีคณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่นประกอบด้วย

                   1. สมาชิกสภาท้องถิ่นที่คัดเลือกกันเองจำนวนสองคน                     

                   2. ผู้แทนประชาคมท้องถิ่นที่คัดเลือกกันเองจำนวนสองคน                

                   3. ผู้แทนหน่วยงานที่เกี่ยวข้องที่ผู้บริหารท้องถิ่นคัดเลือกจำนวนสองคน  

                   4. หัวหน้าส่วนการบริหารที่คัดเลือกกันเองจำนวนสองคน                

                   5. ผู้ทรงคุณวุฒิที่ผู้บริหารท้องถิ่นคัดเลือกจำนวนสองคน       

                   โดยให้คณะกรรมการคัดเลือกกรรมการหนึ่งคนทำหน้าที่ประธานคณะกรรมการ และกรรมการอีกหนึ่งคนทำหน้าที่เป็นเลขานุการ

คณะกรรมการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาท้องถิ่นมีอำนาจหน้าที่

  1. 1.กำหนดแนวทาง วิธีการในการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา
  2. 2.ดำเนินการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนา
  3. 3.รายงานผลและเสนอความเห็น ซึ่งได้จากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาต่อสภาท้องถิ่น

ผู้บริหารท้องถิ่น คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นและประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาให้ประชาชนในท้องถิ่นทราบโดยทั่วกัน   อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้งภายในเดือนธันวาคมของทุกปี ทั้งนี้ให้ติดประกาศโดยเปิดเผยไม่น้อยกว่าสามสิบวัน

4.แต่งตั้งคณะอนุกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อช่วยปฏิบัติงานตามที่เห็นสมควรและตามมติของสำนักงาน ก.. ครั้งที่ 3/2533 ลงวันที่ 26 กันยายน 2533 ได้กำหนดอำนาจหน้าที่ของหน่วยงานภายในส่วนราชการขององค์การบริหารส่วนตำบลเกี่ยวกับการปฏิบัติหน้าที่ราชการ ซึ่งสามารถเชื่อมโยงไปถึงการนำแผนไปสู่การปฏิบัติและติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานตามแผนขององค์การบริหารส่วนตำบล

6.2 การกำหนดวิธีการติดตามและประเมินผลโครงการ

การกำหนดวิธีการติดตามและประเมินผลโครงการแบ่งการติดตามและประเมินผลออกเป็น 3 ระยะ ดังนี้

1. ระยะก่อนดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาสามปี

- เตรียมการจัดทำแผนพัฒนาสามปี ตามระเบียบกระทรวงมหาดไทยว่าด้วยการจัดทำและประสานแผนพัฒนาองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.. 2548

- ซักซ้อมแนวทางในการจัดทำแผนพัฒนาสามปีตามนโยบายของรัฐบาล

- จัดประชุมประชาคมเพื่อให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาและกำหนด ยุทธศาสตร์ในการพัฒนา อบต.

- แต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนา อบต. และคณะกรรมการพัฒนาสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนา อบต.

2. ระยะระหว่างดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาสามปี

-   ผู้บริหารพร้อมด้วยพนักงานอบต. ออกประชาคมสำรวจปัญหาความต้องการของชุมชน  

            -   เก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ความสำคัญของปัญหา

- จัดลำดับความสำคัญของปัญหา โดยจัดตามขนาดของกลุ่มคนที่ได้รับประโยชน์ ความร้ายแรงและความ

เร่งด่วนของปัญหา ความเสียหายที่จะเกิดขึ้นในอนาคต การยอมรับร่วมกันของชุมชน ความเป็นไปได้ในการแก้ไขปัญหา

- รวบรวมข้อมูลจากการจัดลำดับความสำคัญพร้อมจัดทำแผนพัฒนาสามปีโดยมี การติดตามและตรวจสอบความถูกต้อง     

3. ระยะหลังดำเนินการจัดทำแผนพัฒนาสามปี

         - ประชุมคณะกรรมการพัฒนา อบต. พร้อมติดตามและประเมินผล

         - คณะกรรมการพัฒนา อบต. และประชาคมท้องถิ่นพิจารณาร่างแผนพัฒนาสามปีเพื่อให้ผู้บริหารเสนอคณะกรรมกรประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น

          - ผู้บริหารท้องถิ่นนำร่างแผนพัฒนาสามปีเสนอขอรับอนุมัติจากสภาท้องถิ่น

                   - ผู้บริหารท้องถิ่นประกาศใช้แผนพัฒนาสามปี

- ติดตามและตรวจสอบการบริหารจัดการโครงการที่วางไว้

- เปิดโอกาสให้ประชาชนตรวจสอบการดำเนินงานตามโครงการ

- รายงานผลการจัดทำแผนพัฒนาสามปีให้ส่วนที่เกี่ยวข้อง

 

สรุปแล้วการติดตามและการประเมินผลแผนพัฒนาจะมีระบบการติดตามและประเมินผลเป็นข้นตอนที่

ดำเนินการจากการนำโครงการที่บรรจุไว้ในแผนพัฒนาไปสู่การปฏิบัติ   การติดตามเป็นการตรวจสอบว่าเป็นการดำเนินกิจกรรมตามโครงการที่ได้รับอนุมัติงบประมาณให้ดำเนินการตามโครงการที่บรรจุไว้ในแผนพัฒนาเป็นไปตามขั้นตอนของกิจกรรมที่ได้กำหนดไว้ในแผนหรือไม่

6.3 การกำหนดห้วงเวลาในการติดตามและประเมินผล

สำหรับการประเมินผลเป็นการตรวจสอบสิ่งที่เกิดขึ้นจริง   เมื่อดำเนินการตามโครงการแล้วเสร็จ เปรียบเทียบกับวัตถุประสงค์แล้วเป็นไปตามวัตถุประสงค์หรือไม่ อยู่ในระดับใด หรือกล่าวอีกนัยหนึ่งเป็นการจัดระดับความสำคัญและความล้มเหลวของการนำแผนงานโครงการตามแผนพัฒนาไปปฏิบัติ ในการประเมินผลนั้น 1 ครั้ง และประเมินโครงการโดยภาพรวมปีละ 1 ครั้ง   แล้วรายงานผลและเสนอความเห็นที่ได้จากการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาต่อสภา อบต. นายก อบต. คณะกรรมการพัฒนา อบต. และประกาศผลการติดตามและประเมินผลแผนพัฒนาให้ประชาชนได้ทราบโดยทั่วกัน ประการสำคัญผลจากประเมินทำให้ผู้บริหารได้ทราบถึงความก้าวหน้า ปัญหาอุปสรรคจากการดำเนินงานและนำข้อมูลที่ได้มากำหนดเป็นแนวทางในการพัฒนา อบต.ให้สนองตอบความต้องการของประชาชนในพื้นที่และประเทศชาติโดยรวมต่อไป

ผลการพัฒนาท้องถิ่นในปีที่ผ่านมา

                    ผลการพัฒนาท้องถิ่นในปีที่ผ่านมาภายใต้แผนพัฒนาสามปีองค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี (พ.ศ. 2555-2557) ในการนำแผนพัฒนาไปปฏิบัติเชิงปริมาณไม่เป็นไปตามแผนที่เท่าที่ควรเนื่องจากมีแผนงานโครงการและกิจกรรมในแผนพัฒนาตำบลประจำปีจำนวนมากและรายได้ที่องค์การบริหารส่วนตำบลจัดเก็บเองและส่วนราชการอื่นจัดเก็บให้ตลอดจนเงินอุดหนุนจากรัฐบาลมีจำนวนจำกัด ซึ่งไม่เพียงพอแก่การบริหารงานให้เป็นไปตามแผนพัฒนาตำบลได้ ทำให้ประสิทธิผลของแผนพัฒนาในเชิงคุณภาพไม่สามารถดำเนินการได้ตามแผน แต่ส่วนหนึ่งก็สามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนให้ประชาชนได้พอสมควร ดังนี้

1.       ด้านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

ลำดับที่

กิจกรรม/โครงการ

งบประมาณ

1

โครงการก่อสร้างระบบระบายน้ำ   คสล.   ม.1

100,000

2

โครงการก่อสร้างระบบระบายน้ำ   คสล.   ม.2

100,000

3

โครงการก่อสร้างระบบระบายน้ำ   คสล.   ม.3                                              

100,000

4

โครงการก่อสร้างระบบระบายน้ำ   คสล.   ม.6

100,000

5

โครงการก่อสร้างระบบระบายน้ำ   คสล.   ม.7

100,000

6

โครงการก่อสร้างระบบระบายน้ำ   คสล.   ม.8

100,000

7

โครงการปรับปรุงซ่อมแซมถนนลูกรัง ม.9

100,000

8

โครงการก่อสร้างถนน   คสล. ม.10

100,000

9

โครงการปรับปรุงซ่อมแซมถนนลูกรังลงเฉพาะจุดที่เสียหาย   ม.11

100,000

10

โครงการปรับปรุงซ่อมแซมถนนลูกรังลงเฉพาะจุดที่เสียหาย   ม.12

100,000

11

โครงการก่อสร้างระบบระบายน้ำ   คสล.   ม.13

100,000

12

โครงการก่อสร้างระบบระบายน้ำ   คสล.   ม.14

100,000

13

โครงการถมดินไหล่ทางลาดชัน   ม.11

21,500

14

โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์หน้าสำนักงาน   อบต.โคกสี

10,100

15

โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์อาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็กฯ

18,800

16

โครงการอุดหนุนการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคขอนแก่น-ขยายเขตไฟฟ้าสาธารณะ   ม.5

100,000

17

โครงการอุดหนุนการไฟฟ้าส่วนภูมิภาคขอนแก่น-ขยายเขตไฟฟ้าสาธารณะ   ม.4

100,000

 

2.       การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจ

ลำดับที่

กิจกรรม/โครงการ

งบประมาณ

1

โครงการจัดหาอุปกรณ์กีฬาให้กับทุกหมู่บ้าน

30,000

2

โครงการแข่งขันกีฬา อปท.สัมพันธ์

30,000

3

โครงการจัดหาครุภัณฑ์ วัสดุ   อุปกรณ์การเรียนการสอนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

60,000

4

โครงการตั้งจุดตรวจ/จุดบริการ   ในช่วงเทศกาลสำคัญ

60,000

5

โครงการอบรมทีมกู้ภัย

50,000

6

โครงการจัดตั้งและฝึกอบรม อปพร.ตำบลโคกสี

100,000

7

อุดหนุนอาหารกลางวันโรงเรียนสังกัด สพฐ.

1,800,000

8

โครงการส่งเสริมประเพณีเข้าพรรษา

20,000

9

โครงการอนุรักษ์ประเพณีสงกรานต์รดน้ำดำหัว

50,000

10

อุดหนุนเบี้ยยังชีพคนชรา

1,500,000

11

อุดหนุนเบี้ยยังชีพคนพิการ

300,000

12

อุดหนุนเบี้ยยังชีพผู้ป่วยเอดส์

60,000

13

อุดหนุนกองทุนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าตำบลโคกสี

35,000

14

อุดหนุนคณะกรรมการดำเนินงานพัฒนาสาธารณสุข

140,000

15

สมทบกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น

150,000

16

โครงการจัดบริการการแพทย์ฉุกเฉิน (EMS)

50,000

17

โครงการส่งเสริมกิจกรรมศูนย์เรียนรู้

50,000

18

โครงการจ้างเด็กนักเรียน-นักศึกษาทำงาน

50,000

19

โครงการจัดการแข่งขันกีฬาตำบลโคกสี

200,000

20

โครงการจัดส่งนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันกีฬาต่าง ๆ

20,000

21

โครงการจัดกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ

50,000

22

ค่าอาหารเช้าและกลางวันสำหรับเด็กปฐมวัย   ศพด.อบต.โคกสี

533,000

23

โครงการเข้าร่วมแข่งขันกีฬาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

15,000

24

โครงการจัดซื้อหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน

50,000

25

โครงการจัดงานวันพ่อแห่งชาติ

20,000

26

โครงการจัดงานวันแม่แห่งชาติ

20,000

27

โครงการจัดงานวันปิยะมหาราช

5,000

28

อุดหนุนคณะกรรมการหมู่บ้านทั้ง 14 หมู่บ้าน

100,000

29

อุดหนุนศูนย์สงเคราะห์ผู้สูงอายุตำบลโคกสี

30,000

30

โครงการจัดงานวันลอยกระทง

42,000

31

โครงการโรงสีข้าวชุมชน

50,000

32

โครงการสนับสนุนกลุ่มอาชีพต่าง ๆ

140,000

33

โครงการส่งเสริมประเพณีท้องถิ่น(บุญบั้งไฟ)

100,000

3.       การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ลำดับที่

กิจกรรม/โครงการ

งบประมาณ

1

โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์สถานที่ราชการและสถานที่สำคัญเขตในตำบล

200,000

2

โครงการกำจัดวัชพืชในพองหลง ม.5

200,000

3

โครงการขุดลอกหนองบัวทอง ม.9

400,000

4

โครงการขุดลอกหนองแซง

2,000,000

5

โครงการสูบน้ำพลังไฟฟ้า ม.10

400,000

6

โครงการปรับปรุงโรงสูบน้ำประปา ม.10

400,000

7

โครงการขุดลอกบึงขามป้อม ม.13

300,000

8

โครงการทำสวนสุขภาพชุมชน ม.13

200,000

9

โครงการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

500,000

10

โครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล

200,000

11

โครงการจัดหาและปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติ

30,000

12

โครงการจัดงานวันเกษตร

50,000

13

โครงการบ้านน่าอยู่

1,000,000

14

โครงการศูนย์บริการและถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร

20,000

15

ปรับปรุงตลาดกลางตำบลโคกสี

200,000

16

โครงการอนุรักษ์พันธุกรรมพืชอันเนื่องมากจากพระราชดำริละถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร

10,000

 

4.    การพัฒนาด้านบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี

 

ลำดับที่

กิจกรรม/โครงการ

งบประมาณ

1

โครงการก่อสร้างอาคารเอนกประสงค์   ม.2

400,000

2

โครงการประชุมประชาคมหมู่บ้านและตำบล

30,000

3

โครงการ   อบต.สัญจร พบปะประชาชน

50,000

4

โครงการอุดหนุนศูนย์รวมข้อมูลข่าวสาร

30,000

5

โครงการเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร   อบต.โคกสี

400,000

6

โครงการประเมินความพึงพอใจจากองค์กรภายนอก

30,000

7

โครงการจัดเก็บและบันทึกข้อมูล   จปฐ. / กชช. 2ค

20,000

8

ค่าใช้จ่ายในการจัดการเลือกตั้ง

120,000

9

รายจ่ายเพื่อทุนการศึกษาของบุคลากร

280,000

10

โครงการปรับปรุงและก่อสร้างศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

400,000

11

อุดหนุนศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดจังหวัดขอนแก่น

20,000

12

อุดหนุนศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดอำเภอเมืองขอนแก่น

30,000

13

โครงการฝึกอบรมอาสาสมัครปกป้องสถาบัน(อสป.)

40,000

14

ค่าพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

50,000

15

อุดหนุนศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดตำบลโคกสี

30,000

16

โครงการอุดหนุนกองทุนเฉลิมพระเกียรติช่วยเหลือผู้ป่วย   HIV อำเภอเมือง

15,000

17

โครงการจัดหาครุภัณฑ์ วัสดุ สำนักงาน อบต.

200,000

18

อุดหนุนเหล่ากาชาดจัดหวัดขอนแก่น

20,000

19

อุดหนุนการจัดการแข่งขันกีฬาแห่งชาติ

30,000

 

สรุปสถานะการพัฒนา

ตำบลโคกสี ประสบปัญหาภัยธรรมชาติเป็นประจำทุกปี เช่นภัยแล้งและน้ำท่วม ซึ่งเพิ่มความรุนแรงและมีระยะเวลายาวนานมากขึ้น ส่งผลกระทบกับประชาชนส่วนใหญ่ของตำบลโคกสีที่ประกอบอาชีพด้านเกษตรกรรม นอกจากนี้ยังมีปัญหาทรัพยากรธรรมชาติเสื่อมโทรมเนื่องจากการใช้ปุ๋ยเคมีและสารเคมีในการทำการเกษตร   ซึ่งองค์การบริหารส่วนตำบลโคกสีได้วิเคราะห์ศักยภาพเพื่อประเมินสถานภาพการพัฒนาและโอกาสการพัฒนาในอนาคต โดยการวิเคราะห์ใช้หลัก SWOT ดังนี้

(1) จุดแข็ง (S : Strensths)

          - เป็นหน่วยงานที่ใกล้ชิดกับประชาชนมากที่สุด สามารถแก้ไขปัญหาและตอบสนองความต้องการของ

   ประชาชนได้มากที่สุด

- มีเส้นทางสัญจรเป็นไปด้วยความสะดวกอยู่ใกล้ตัวเมือง

- มีโรงเรียนในระดับมัธยมศึกษาและประถมศึกษาขยายโอกาสรวม 8 โรงเรียนซึ่งสามารถรองรับเด็กนักเรียน

   ได้อย่างเพียงพอ

- ผู้นำชุมชนสมานสามัคคีไม่มีปัญหาในด้านการร่วมกันในการปกครองและบริหารการพัฒนา

- มีการประสานร่วมมือระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบลกับส่วนราชการในพื้นที่

- สามารถรองรับการขยายตัวของเมืองและการลงทุน

- ดินในเขตพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลเป็นที่ลุ่มสามารถปลูกพืชทางการเกษตรได้หลายชนิดช่วยให้

   เกษตรกรสามารถเพาะปลูกได้ตามความถนัดและตามฤดูกาล

(2) จุดอ่อน (W : Weakness)  

          - ผลผลิตและมูลค่าสินค้าด้านเกษตรยังอยู่ในระดับต่ำ

          - เป็นสังคมชุมชนชนบทแต่ยังไม่สามารถรวมกลุ่มกันเพื่อดำเนินการด้านเศรษฐกิจของชุมชนในรูปของกลุ่ม

   อาชีพอย่างเข้มแข็ง

- สภาพดินในการเกษตรเป็นดินไม่อุ้มน้ำ ทำให้ไม่สามารถกักเก็บน้ำไว้ใช้ได้นาน ทรัพยากรดินเสื่อมโทรม

   เนื่องจากการใช้สารเคมีต่อเนื่องเป็นเป็นเวลานาน

- เด็กและเยาวชนบางส่วนมีพฤติกรรมไม่ศึกษาต่อระดับที่สูงขึ้น

- มีชุมชนที่ย้ายโอนมาจากชุมชนเมืองหลายชุมชนบริเวณเกาะราชสามัคคีอันเป็นเหตุแห่งการ

อาจก่อให้เกิดปัญหาด้านคุณภาพชีวิตของประชาชน

(3) โอกาส (O : Opportunity)

- พื้นที่ส่วนใหญ่สามารถทำการเกษตรได้ เช่น ปลูกข้าวนาปี ข้าวนาปรัง ปลูกอ้อยโรงงานและมันสำปะหลัง

- มีแม่น้ำสายใหญ่(แม่น้ำพอง)ไหลผ่าน 6 หมู่บ้าน (หมู่ที่1, 2, 3, 4, 5, 8, 10, 11,14) ซึ่งเกษตรสามารถทำนาได้

   หลายครั้งต่อปี รวมถึงทำการเกษตรด้านอื่น ๆ ด้วย

(4) อุปสรรค (T : Threats)

- ประชาชนส่วนใหญ่ประกอบอาชีพด้านการเกษตรที่อาศัยปัจจัยการผลิตจากธรรมชาติ

- การบริหารงบประมาณยังไม่สามารถกระจายงบประมาณเพื่อบริหารงานและการพัฒนาได้อย่างครอบคลุม

   ในทุกด้าน เนื่องจากงบประมาณมีน้อย

- มีภัยธรรมชาติที่ประสบเป็นประจำทุกปี เช่น ภาวะฝนแล้ง,น้ำท่วม และวาตะภัย

- ราคาพืชผลทางการเกษตรที่ไม่คงที่ ตกต่ำ ไม่มีการรวมกลุ่ม เสียเปรียบพ่อค้าคนกลาง

- ภาวะขาดแคลนน้ำหน้าฤดูแล้ง ทำให้ไม่เอื้ออำนวยต่อการเกษตรในบางพื้นที่ที่คลองส่งน้ำยังไปไม่ถึง

          การประเมินผลการนำแผนพัฒนาไปปฏิบัติในระยะเวลาที่ผ่านมาก็เพื่อจะให้ทราบถึงผลการพัฒนาที่ผ่านมาว่า องค์การบริหารส่วนตำบลพัฒนาเน้นหนักไปในทิศทางใด นำโครงการไปปฏิบัติมากน้อยเพียงใด และบรรจุวัตถุประสงค์ของการพัฒนาหรือไม่ โดยแยกประเมิน ดังนี้

การประเมินผลการนำแผนพัฒนาไปปฏิบัติในเชิงประมาณ

          การนำแผนพัฒนาไปสู่การปฏิบัติเชิงปริมาณในระยะเวลาที่ผ่านมา   องค์การบริหารส่วนตำบลโคกสีได้ดำเนินโครงการตามแผนพัฒนา เป็น 4 สาขาการพัฒนาได้แก่

1. สาขาการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

2. สาขาการพัฒนาด้านคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจ

3. สาขาการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

4. สาขาการบริหารบ้านเมืองที่ดีและการบริการ

โดยทั้ง 4 สาขาการพัฒนา   ที่ผ่านมาองค์การบริหารส่วนตำบลได้เน้นหนักการพัฒนาในสาขาการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเป็นอันดับแรก สาขาการพัฒนาด้านคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจ   สาขาการพัฒนาการเมืองที่ดีและการบริการ   และสาขาการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เป็นอันดับรองลงไป เหตุผลที่การพัฒนาเน้นหนักด้านโครงสร้างพื้นฐาน ก็เนื่องจากสภาพขององค์การบริหารส่วนตำบลโคกสีเป็นชุมชนชนบทซึ่งโครงสร้างพื้นฐานไม่ว่าจะเป็นระบบการคมนาคม ถนน หนทาง ระบบไฟฟ้า น้ำประปา สะพาน ท่อระบายน้ำ ยังต้องได้รับการพัฒนาอีกมาก ประชาชนในชุมชนได้รับความเดือดร้อนในการคมนาคม ขนส่งการสัญจรไปมา ทั้งในชุมชนระหว่างชุมชน   และเส้นทางจากชุมชนไปสู่แหล่งเกษตรกรรมการพัฒนาในระยะที่ผ่านมาจึงตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่น   และแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนด้วยการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเป็นอันดับแรก ซึ่งงบประมาณที่ใช้ในการพัฒนาด้านนี้ตกอยู่ประมาณ ร้อยละ 70 ของงบประมาณที่ใช้ในการพัฒนาทั้งหมดจนถึงปัจจุบันสามารถก่อสร้างเส้นทางคมนาคมในชุมชนและระหว่างชุมชนได้ถึงร้อยละ80 ของพื้นที่ ผลการพัฒนาสามารถแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนและได้รับความพึงพอใจจากประชาชนในชุมชนระดับที่น่าพอใจ

                    ถึงแม้ในระยะที่ผ่านมาองค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี จะเน้นหนักการพัฒนาไปทางการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน   แต่มิได้ละเลยหรือทอดทิ้งการพัฒนาในด้านอื่น ๆ คงดำเนินการพัฒนาด้านอื่นควบคู่กันไปในด้านการพัฒนาเศรษฐกิจได้ดำเนินการส่งเสริมอาชีพ   ฝึกอบรมกลุ่มอาชีพ กลุ่มสตรีแม่บ้าน รวมทั้งการจัดหาแหล่งน้ำขนาดกลางเพื่อเกษตร ในด้านการพัฒนาสังคมได้ดำเนินการส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม ประเพณี ร่วมกับพี่น้องในชุมชน และได้ดำเนินการจัดตั้งชุมชนเข้มแข็งเพื่อเอาชนะยาเสพติดจนสถานการณ์การแพร่ระบาดของยาเสพติดในชุมชนลดลงในด้านการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ดำเนินการปลูกต้นไม้และการพัฒนาแหล่งน้ำ เพื่อให้มีน้ำใช้เพียงพอต่อการเกษตร รวมทั้งการรักษาความสะอาดและการปรับปรุงภูมิทัศน์ในชุมชน ในด้านการพัฒนาการเมือง การบริหาร ได้ดำเนินการฝึกอบรมเพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของทั้งข้าราชการส่วนท้องถิ่นและสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล   ปรับปรุงสถานที่ วัสดุ ครุภัณฑ์ ลดกระบวนการขั้นตอนในการบริการ และรณรงค์จัดการเลือกตั้งให้เป็นไป ด้วยความโปร่งใสสุจริตและเที่ยงธรรมการพัฒนาในด้านเศรษฐกิจสังคม การศึกษาศาสนาวัฒนธรรม ด้านการเมืองการบริหาร

การประเมินประสิทธิผลของแผนพัฒนาในเชิงคุณภาพ

                    การประเมินผลของแผนพัฒนาในเชิงคุณภาพ ของการปฏิบัติงานโครงการตามแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล จากการศึกษาและประเมินผลแยกตามสาขาการพัฒนา ดังนี้

1. การประเมินประสิทธิผลของแผนพัฒนาตามสาขาพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

                    จากการประเมินประสิทธิผลของแผนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่ผ่านมาโดยการวิเคราะห์ระดับความสำเร็จและความล้มเหลวของผลผลิตแผนงาน /โครงการ เป็นการพิจารณาในเชิงคุณภาพ ค่าใช้จ่ายและความพึงพอใจ สรุปได้ดังนี้

สาขาการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน

ด้านผลผลิต

(Output)

ด้านผลลัพธ์

(Outcome)

ด้านผลลัพธ์สุดท้าย

(Ultimate output)

เป็นแผนงาน/โครงการที่นำไปปฏิบัติจริงดำเนินการได้ครบทุกโครงการเป็นไปตามรูปแบบเป้าหมายกำหนด  

- ด้านระยะเวลาส่วนมากดำเนินงานแล้วเสร็จตามระยะเวลาทุกโครงการ

- ด้านค่าใช้จ่ายเป็นไปตามงบประมาณที่กำหนด

- ด้านคุณภาพ   ของโครงการตรงตามมาตรฐานที่กำหนดสามารถใช้ประโยชน์ได้คุ้มค่าคงทนถาวร

- ด้านความพึงพอใจพบว่าประชาชนที่ใช้บริการ และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีความพึงพอใจมาก

เป็นผลที่เกิดต่อจากผลผลิต (Output)   ซึ่งวัดระยะผลสำเร็จและความล้มเหลวของผลลัพธ์ของแผนงาน/โครงการเป็นการพิจารณาถึงการให้ประโยชน์แก่กลุ่มเป้าหมายหรือผู้ได้รับผลประโยชน์ของโครงการ   แผนงาน/โครงการที่นำไปปฏิบัติพบว่า

- โครงการที่ได้รับอนุมัติงบประมาณและได้ดำเนินงานแล้วเสร็จเกิดประโยชน์แก่กลุ่มเป้าหมายในระดับมาก มีความเสมอภาคเป็นธรรมสุจริต โปร่งใส   ผู้รับผิดชอบโครงการมีความรับผิดชอบต่อโครงการในระดับมาก

เป็นผลที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม   จากผลการประเมินพบว่า

- โครงการที่ได้นำไปปฏิบัติในพื้นที่เกิดประโยชน์ต่อประชาชนสามารถสัญจรไปมาและขนส่งผลิตผลการเกษตรได้สะดวก   และลดมลภาวะจากฝุ่นละออง ประชาชนมีคุณภาพชีวิตดีขึ้น

- สามารถประหยัดงบประมาณถึงร้อยละ   35

- ประชาชนเกิดการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานทุกขั้นตอนเกิดความสำนึกในการเป็นเจ้าของ   อบต. ร่วมกัน

2. ประเมินประสิทธิผลของแผนพัฒนาสาขาพัฒนาด้านคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจ

จากการประเมินประสิทธิผลของแผนพัฒนาสาขาพัฒนาเศรษฐกิจที่ผ่านมา โดยการวิเคราะห์ระดับความสำเร็จและความล้มเหลวของผลผลิตแผนงาน/โครงการ เป็นการพิจารณาในเชิงคุณภาพ ค่าใช้จ่ายและความพึงพอใจ สรุปได้ดังนี้

สาขาการพัฒนาด้านคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจ

ด้านผลผลิต

(Output)

ด้านผลลัพธ์

(Outcome)

ด้านผลลัพธ์สุดท้าย

(Ultimate output)

เป็นแผนงาน/โครงการที่นำไปปฏิบัติพบว่า โครงการที่ได้รับอนุมัติงบประมาณสามารถดำเนินการให้แล้วเสร็จตามระยะเวลาที่กำหนด

- ด้านระยะเวลาส่วนมากดำเนินงานแล้วเสร็จตามระยะเวลาทุกโครงการ

- ด้านคุณภาพของโครงการตรงตามมาตรฐานที่กำหนดสามารถใช้ประโยชน์ได้คุ้มค่าคงทนถาวร

- ด้านความพึงพอใจพบว่าประชาชนที่ใช้บริการและผู้ที่เกี่ยวข้องโดยส่วนรวมอยู่ในระดับมาก

เป็นผลที่เกิดต่อจากผลผลิต (Output) ซึ่งวิเคราะห์วัดระดับผลสำเร็จและความล้มเหลวของผลลัพธ์ของแผนงาน/โครงการเป็นการพิจารณาถึงการให้ประโยชน์แก่กลุ่มเป้าหมายหรือผู้ได้รับผลประโยชน์ของโครงการ   พบว่า

- โครงการที่ได้รับอนุมัติงบประมาณและได้ดำเนินงานแล้วเสร็จเกิดประโยชน์แก่กลุ่มเป้าหมายในระดับมาก การดำเนินงานของมีความเสมอภาค   เป็นธรรมสุจริต โปร่งใส ผู้รับผิดชอบโครงการมีความรับผิดชอบต่อโครงการในระดับมาก

เป็นผลที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม จากผลการประเมินพบว่า

- โครงการที่ได้นำไปปฏิบัติในพื้นที่ประชาชนได้รับประโยชน์อย่างทั่วถึงสามารถยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นกว่าเดิมประชาชนมีรายได้เพิ่มขึ้นและขยายให้กลุ่มอื่น   ๆ ในชุมชนได้เป็นจำนวนมากทำให้ชุมชนเข้มแข็งและพึ่งตนเองได้อย่างยั่งยืน

- ประชาชนเกิดการมีส่วนร่วมในการดำเนินงานทุกขั้นตอนเกิดความสำนึกในการเป็นเจ้าของ   อบต.ร่วมกัน

3. ประเมินประสิทธิผลของแผนพัฒนาสาขาการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

          จากการประเมินผลของแผนพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ที่ผ่านมา โดยผลการวิเคราะห์ระดับความสำเร็จ ความล้มเหลวของแผนงาน/โครงการเป็นการดำเนินการเน้นหนักการปฏิบัติจริง แต่ประชาชนยังไม่ตื่นตัวในด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม   ประกอบกับพื้นที่ อบต. ส่วนใหญ่ยังไม่ได้รับผลกระทบทางสิ่งแวดล้อมมากนัก เพราะเป็นเขตชนบท สรุปได้ดังนี้

สาขาการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ด้านผลผลิต

(Output)

ด้านผลลัพธ์

(Outcome)

ด้านผลลัพธ์สุดท้าย

(Ultimate output)

เป็นแผนงาน/โครงการสาขาการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่ดำเนินการเป็นโครงการส่งเสริมการปลูกต้นไม้ในชุมชนและหมู่บ้าน ดำเนินการแล้วเสร็จตามรายการ

-   ด้านระยะเวลาส่วนมากดำเนินงานแล้วเสร็จตามระยะเวลาทุกโครงการ

- ด้านค่าใช้จ่ายเป็นไปตามงบประมาณที่กำหนด

-   ด้านคุณภาพของโครงการตรงตามมาตรฐานที่กำหนดสามารถใช้ประโยชน์ได้คุ้มค่าคงทนถาวร

- ด้านความพึงพอใจพบว่าประชาชนที่ใช้บริการ และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีความพึงพอใจมาก

   เป็นผลที่เกิดต่อจากผลผลิต   (Output) ซึ่งวิเคราะห์กับผลสำเร็จและความล้มเหลวของผลลัพธ์ของแผนงาน/โครงการเป็นการพิจารณาถึงการให้ประโยชน์แก่กลุ่มเป้าหมายหรือผู้ได้รับผลประโยชน์

- โครงการที่ได้รับอนุมัติงบประมาณและได้ดำเนินงานแล้วเสร็จกลุ่มเป้าหมายและชุมชนได้รับประโยชน์จากโครงการในระดับมากและความรับผิดชอบของผู้รับผิดชอบโครงการอยู่ในระดับมาก

   เป็นผลที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อส่วนรวม จากผลการประเมินพบว่า

- โครงการที่ได้นำไปปฏิบัติในพื้นที่ดำเนินการผู้รับประโยชน์เฉพาะบริเวณพื้นที่ใกล้เคียง

- ประชาชนในชุมชนมีความตระหนักและรับผิดชอบต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

- จำนวนต้นไม้เพิ่มมากขึ้นและส่งผลต่อระบบนิเวศ   ภูมิทัศน์และเป็นการคืนหรือปรับสภาพความสมบูรณ์ของธรรมชาติ

- เกิดแนวร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในชุมชน

4. ประเมินประสิทธิผลของแผนพัฒนาตามสาขาการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี

          จากการประเมินผลของแผนสาขาการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดีและการบริการ โดยผลการวิเคราะห์ระดับความสำเร็จและความล้มเหลวของแผนงาน/โครงการ เป็นการพิจารณาในเรื่องปริมาณ และค่าใช้จ่าย คุณภาพความพึงพอใจ สรุปได้ดังนี้

สาขาการพัฒนาการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี

ด้านผลผลิต

(Output)

ด้านผลลัพธ์

(Outcome)

ด้านผลลัพธ์สุดท้าย

(Ultimate output)

เป็นแผนงาน/โครงการที่นำไปปฏิบัติจริงดำเนินการได้ครบทุกโครงการเป็นไปตามรูปแบบเป้าหมายกำหนด

- ด้านระยะเวลาส่วนมากดำเนินงานแล้วเสร็จตามระยะเวลาทุกโครงการ

- ด้านค่าใช้จ่ายเป็นไปตามงบประมาณที่กำหนด

-   ด้านคุณภาพของโครงการตรงตามมาตรฐานที่กำหนดสามารถใช้ประโยชน์ได้คุ้มค่าคงทนถาวร

- ด้านความพึงพอใจพบว่าประชาชนที่ใช้บริการ และผู้ที่เกี่ยวข้องทุกฝ่ายมีความพึงพอใจมาก

   เป็นผลที่เกิดต่อจากผลผลิต (Output) แผนงาน/โครงการที่นำไปปฏิบัติ   ซึ่งวัดระดับผลสำเร็จและความล้มเหลวของผลลัพธ์ของแผนงาน/โครงการเป็นการพิจารณาถึงการให้ประโยชน์แก่กลุ่มเป้าหมายหรือผู้ได้รับผลประโยชน์จากโครงการในระดับมาก

- การดำเนินงานตามโครงการที่ได้รับอนุมัติงบประมาณและได้ดำเนินงานแล้วเสร็จเกิดประโยชน์แก่กลุ่มเป้าหมายในระดับมาก มีความเสมอภาค เป็นธรรมสุจริตโปร่งใส ผู้รับผิดชอบโครงการมีความรับผิดชอบต่อโครงการในระดับมาก

   เป็นผลที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประชาชนและผู้ที่เกี่ยวข้องอย่างดียิ่งประชาชนได้รับรู้ข้อมูลข่าวสารและพัฒนาตนเองในด้านการเมืองรวมถึงการบริหารจัดการในองค์กรอย่างมีประสิทธิภาพ

-   ประชาชนเกิดความเชื่อถือศรัทธาในองค์กร   อบต. เกิดการมีส่วนร่วมในการบริหารงาน

- เกิดกระบวนการตรวจสอบภาคประชาสังคม อย่างเป็นระบบ

บัญชีโครงการพัฒนาและรายละเอียดโครงการพัฒนา(พ.ศ.2556-2558)

 

            บัญชีโครงการพัฒนา

ภายใต้แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2556-2558)

*************************************************************

ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน

แนวทางพัฒนา

1. ก่อสร้างและปรับปรุงซ่อมแซมถนน ท่อระบายน้ำ ให้ได้มาตรฐาน มีความสะดวกยิ่งขึ้น

2. ขยายเขตไฟฟ้าแสงสว่างและไฟฟ้าสาธารณะ

3. ขยายเขตการบริการประปาให้เพิ่มมากขึ้น

4. บริการสาธารณะที่ประชาชนพึงได้รับอย่างทั่วถึง

     บัญชีโครงการพัฒนา

ภายใต้แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2556-2558)  

ยุทธศาสตร์ที่ 1   การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน    

ที่

แผนงาน/โครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

พ.ศ.2556

พ.ศ.2557

พ.ศ.2558

1

โครงการก่อสร้างถนน   คสล.   ม.1

เพื่อก่อสร้างถนน   คสล.ภายในหมู่

ม.1

200,000

200,000

200,000

ไม่มีน้ำท่วมขัง

ส่วนโยธา

2

โครงการต่อเติมหลังคาศาลากลางบ้าน ม.1              

เพื่อต่อเติมหลังคาศาลากลางบ้าน

ม.1

50,000

-

-

ราษฎรมีศาลากลางบ้านไว้ใช้

ส่วนโยธา

3

โครงการก่อสร้างร่องระบายน้ำ   คสล. ม.1

เพื่อก่อสร้างร่องระบายน้ำ   คสล.

ม.1

200,000

200,000

200,000

ไม่มีน้ำท่วมขัง

ส่วนโยธา

4

โครงการก่อสร้างลานกีฬา

ม.1

เพื่อก่อสร้างลานกีฬาประจำหมู่บ้าน

ม.1

100,000

-

-

มีลานกีฬาไว้ออกกำลังกาย

ส่วนโยธา

5

โครงการก่อสร้างถนน   คสล.   ม.2

เพื่อก่อสร้างถนน   คสล.ภายในหมู่บ้าน

ม.2

200,000

200,000

200,000

ราษฎรได้สะดวกสบายในการสัญจรไปมา

ส่วนโยธา.

6

โครงการก่อสร้างร่องระบายน้ำ   คสล. ม.2

เพื่อก่อสร้างร่องระบายน้ำ   คสล.

ม.2

200,000

200,000

200,000

ไม่มีน้ำท่วมขัง

ส่วนโยธา

7

โครงการก่อสร้างถนน   ลูกรัง   ม.2

เพื่กก่อสร้างถนนลูกรัง

ม.2

200,000

200,000

200,000

ราษฎรได้สะดวกสบายในการสัญจรไปมา

ส่วนโยธา

8

โครงการขยายเขตไฟฟ้าเพื่อการเกษตร   ม.2

เพื่อขยายเขตไฟฟ้าเพื่อการเกษตร

ม.2

200,000

200,000

200,000

ประชาชนปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ส่วนโยธา

9

โครงการขยายเขตไฟฟ้าเพื่อการเกษตร ม.3

เพื่อขยายเขตไฟฟ้าเพื่อการเกษตร

ม.3

200,000

200,000

200,000

ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ส่วนโยธา

ยุทธศาสตร์ที่ 1    การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน       

ที่

แผนงาน/โครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

พ.ศ.2556

พ.ศ.2557

พ.ศ.2558

10

โครงการก่อสร้างร่องระบายน้ำ   คสล. ม.3

เพื่อก่อสร้างร่องระบายน้ำ   คสล.

ม.3

200,000

200,000

200,000

ไม่มีน้ำท่วมขัง

ส่วนโยธา

11

โครงการขยายเขตประปา ม.3

เพื่อขยายเขตประปาหมู่บ้าน

ม.3

200,000

200,000

200,000

ราษฎรมีน้ำประปาใช้ในครัวเรือน

ส่วนโยธา

12

โครงการขยายเขตไฟฟ้าแสงสว่าง   ม.3

เพื่อขยายเขตไฟฟ้าแสงสว่าง

ม.3

200,000

200,000

200,000

ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ส่วนโยธา

13

โครงการก่อสร้างถนนดิน ม.3

เพื่อก่อสร้างถนนดิน   ม.3

ม.3

200,000

200,000

200,000

ราษฎรได้ใช้ถนนสัญจรไปมาได้สะดวก

ส่วนโยธา

14

โครงการปรับปรุงระบบเสียงตามสาย   ม.4

เพื่อปรับปรุงระบบเสียงตามสายภายในหมู่บ้าน

ม.4

300,000

-

-

ประชาชนรับรู้ข้อมูลข่าวสารได้รวดเร็ว

ส่วนโยธา

15

โครงการขยายเขตประปา

ม.4

เพื่อขยายเขตประปาหมู่บ้าน

ม.4

200,000

200,000

200,000

ราษฎรมีน้ำประปาใช้ในครัวเรือน

ส่วนโยธา

16

โครงการก่อสร้างถนน   คสล.   ม.4

เพื่อก่อสร้างถนน   คสล.

ม.4

200,000

200,000

200,000

ราษฎรสัญจรไปมาสะดวก

ส่วนโยธา

17

โครงการไฟฟ้าแสงสว่าง   ม.4

เพื่อขยายเขตไฟฟ้าแสงสว่าง

ม.4

200,000

200,000

200,000

ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ส่วนโยธา

18

โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ.   ม.4

เพื่อพัฒนาแหล่งน้ำในเขตหมู่   4

.4

200,000

200,000

200,000

ราษฎรมีแหล่งน้ำสะอาดไว้ใช้ตลอดปี

ส่วนโยธา

19

โครงการก่อสร้างถนน   คสล. ม.5

เพื่อก่อสร้างถนน   คสล.ภายในหมู่บ้าน

ม.5

200,000

200,000

200,000

ราษฎรได้รับความสะดวกในการสัญจรไปมา

ส่วนโยธา

ยุทธศาสตร์ที่ 1    การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน       

ที่

แผนงาน/โครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

พ.ศ.2556

พ.ศ.2557

พ.ศ.2558

20

โครงการเสริมพนังกั้นน้ำ  

ม.5

เพื่อเสริมพนังกั้นน้ำให้แข็งแรง

ม.5

300,000

-

-

ประชาชนมีพนังกั้นน้ำที่แข็งแรง ทนทาน

ส่วนโยธา

21

โครงการขุดลอกหนองเต่า  

ม.5

เพื่อขุดลอกหนองเต่า

ม.5

300,000

-

-

ราษฎรได้รับประโยชน์จากหนองเต่าดีขึ้น

ส่วนโยธา

22

โครงการไฟฟ้าขยายเขต   ม.5

เพื่อขยายเขตไฟฟ้าแสงสว่าง

ม.5

200,000

200,000

200,000

ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ส่วนโยธา

23

โครงการก่อสร้างร่องระบายน้ำ   คสล. ม.6

เพื่อก่อสร้างร่องระบายน้ำ   คสล.

ม.6

200,000

200,000

200,000

ไม่มีน้ำท่วมขัง

ส่วนโยธา

24

โครงการก่อสร้างถนนลูกรัง   ม.6

เพื่อก่อสร้างถนนลูกรัง

ม.6

200,000

200,000

200,000

ราษฎรได้รับความสะดวกในการสัญจรไปมา

ส่วนโยธา

25

โครงการขุดลอกหนองเซียงสา   ม.6

เพื่อขุดลอกหนองเซียงสา

ม.6

300,000

-

-

ราษฎรมีแหล่งน้ำสะอาดไว้ใช้ตลอดปี

ส่วนโยธา

26

โครงการไฟฟ้าขยายเขตเพื่อการเกษตร   ม.6

เพื่อขยายเขตไฟฟ้าเพื่อการเกษตร

ม.6

200,000

200,000

200,000

ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ส่วนโยธา

27

โครงการคลองสูบน้ำพลังไฟฟ้า   ม.7

เพื่อจัดซื้อเครื่องสูบน้ำพลังไฟฟ้า

ม.7

300,000

-

-

มีน้ำใช้เพื่อการเกษตร

ตลอดปี

ส่วนโยธา

28

โครงการประปาผิวดิน   ม.7

เพื่อก่อสร้างประปาผิวดิน

ม.7

300,000

-

-

ประชาชนมีน้ำประปาใช้อย่างทั่วถึง

ส่วนโยธา/อบต.

29

โครงการก่อสร้างถนน   คสล. ม.7

เพื่อก่อสร้างถนน คสล.

ม.7

200,000

200,000

200,000

ราษฎรได้รับความสะดวกในการสัญจร

ส่วนโยธา/อบต.

ยุทธศาสตร์ที่ 1    การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน

ที่

แผนงาน/โครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

พ.ศ.2556

พ.ศ.2557

พ.ศ.2558

30

โครงการไฟฟ้าขยายเขตเพื่อการเกษตร   ม.7

เพื่อขยายเขตไฟฟ้าเพื่อการเกษตร

ม.7

200,000

200,000

200,000

ประชาชนปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ส่วนโยธา

31

โครงการก่อสร้างร่องระบายน้ำ   คสล. ม.7

เพื่อก่อสร้างร่องระบาย คสล.

ม.7

200,000

200,000

200,000

ไม่มีน้ำท่วมขัง

ส่วนโยธา/อบต.

32

โครงการก่อสร้างร่องระบายน้ำ   ม.8

เพื่อก่อสร้างร่องระบาย คสล.

ม.8

200,000

200,000

200,000

ไม่มีน้ำท่วมขัง

ส่วนโยธา/อบต.

33

โครงการก่อสร้างถนน   คสล.ม.8

เพื่อก่อสร้างถนน   คสล.

ม.8

200,000

200,000

200,000

ประชาชนสะดวกสบายในการสัญจรไปมา

ส่วนโยธา/อบต.

34

โครงการก่อสร้างถนนลูกรัง   ม.8

เพื่อก่อสร้างถนนลูกรัง

ม.8

200,000

200,000

200,000

ประชาชนสะดวกสบายในการสัญจรไปมา

ส่วนโยธา/อบต.

35

โครงการซ่อมแซมศาลากลางบ้าน   ม.8

เพื่อซ่อมแซมศาลากลางบ้าน   ม.8

ม.8

200,000

-

-

ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ส่วนโยธา

36

โครงการไฟฟ้าแสงสว่าง   ม.8

เพื่อขยายเขตไฟฟ้าแสงสว่าง

ม.8

200,000

200,000

200,000

ประชาชนมปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ส่วนโยธา

37

โครงการขุดลอกหนองบัวทอง   ม.9

เพื่อขุดลอกหนองบัวทอง

ม.9

300,000

-

-

ประชาชนมีน้ำใช้เพื่อการเกษตรตลอดปี

ส่วนโยธา/อบต.

38

โครงการขยายเขตไฟฟ้าเพื่อการเกษตร   ม.9

เพื่อขยายเขตบริการไฟฟ้า

ม.9

200,000

200,000

200,000

ประชาชนปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ส่วนโยธา/อบต.

39

โครงการก่อสร้างร่องระบายน้ำ   ม.9

เพื่อก่อสร้างร่องระบาย คสล.

ม.9

200,000

200,000

200,000

ไม่มีน้ำท่วมขัง

ส่วนโยธา/อบต.

ยุทธศาสตร์ที่ 1    การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน

ที่

แผนงาน/โครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

พ.ศ.2556

พ.ศ.2557

พ.ศ.2558

40

โครงการปรับปรุงถนนดิน   ม.9

เพื่อปรับปรุงถนนดิน

ม.9

200,000

200,000

200,000

ประชาชนสัญจรไปมาสะดวก

ส่วนโยธา/อบต.

41

โครงการก่อสร้างสะพานข้ามคลอง   ม.9

เพื่อก่อสร้างสะพาน

ม.9

300,000

-

-

ประชาชนสัญจรไปมาสะดวก

ส่วนโยธา/อบต.

42

โครงการสูบน้ำพลังไฟฟ้า   ม.10

เพื่อจัดซื้อเครื่องสูบน้ำพลังไฟฟ้า

ม.10

300,000

-

-

มีน้ำใช้เพื่อการเกษตร

ตลอดปี

ส่วนโยธา

43

โครงการก่อสร้างร่องระบายน้ำ   ม.10

เพื่อก่อสร้างร่องระบาย คสล.

ม.10

200,000

200,000

200,000

ไม่มีน้ำท่วมขัง

ส่วนโยธา/อบต.

44

โครงการย้ายโรงสูบน้ำ ม.10

เพื่อย้ายโรงสูบน้ำ

ม.10

300,000

-

-

ประชาชนมีน้ำใช้เพื่อการเกษตรตลอดปี

ส่วนโยธา/อบต.

45

โครงการจัดซื้อเครื่องออกกำลังกายกลางแจ้ง   ม.10

เพื่อจัดซื้อเครื่องออกกำลังกายกลางแจ้ง

ม.10

200,000

-

-

ประชาชนมีเครื่องออกกำลังกาย

ส่วนโยธา/อบต.

46

โครงการก่อสร้างถนนลาดยาง   ม.10

เพื่อก่อสร้างถนนลาดยาง

ม.10

200,000

200,000

200,000

ประชาชนสัญจรไปมาสะดวก

ส่วนโยธา/อบต.

47

โครงการซ่อมแซมคันคูส่งน้ำ   ม.11

เพื่อซ่อมแซมคันคูส่งน้ำคลองชลประทาน

ม.11

200,000

200,000

200,000

ประชาชนมีน้ำใช้เพื่อการเกษตรตลอดปี

ส่วนโยธา/อบต.

48

โครงการก่อสร้างศาลาพักร้อน   ม.11

เพื่อก่อสร้างศาลาพักร้อน

ม.11

200,000

-

-

ประชาชนมีศาลาไว้ใช้ประโยชน์

ส่วนโยธา/อบต.

49

โครงการก่อสร้างสะพาน   คสล. ม.11

เพื่อก่อสร้างสะพาน   คสล.

ม.11

200,000

-

-

ประชาชนสัญจรไปมาสะดวก

ส่วนโยธา/อบต.

ยุทธศาสตร์ที่ 1    การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน

ที่

แผนงาน/โครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

พ.ศ.2556

พ.ศ.2557

พ.ศ.2558

50

โครงการก่อสร้างถนนลูกรัง   ม.11

เพื่อก่อสร้างถนนลูกรัง

ม.11

200,000

200,000

200,000

ประชาชนสัญจรไปมาสะดวก

ส่วนโยธา/อบต.

51

โครงการก่อสร้างถนน   คสล.รอบหมู่บ้าน ม.11

เพื่อก่อสร้างถนน   คสล.

ม.11

200,000

200,000

200,000

ประชาชนสัญจรไปมาสะดวก

ส่วนโยธา/อบต.

52

โครงการก่อสร้างถนนลูกรัง   ม.12

เพื่อก่อสร้างถนนลูกรัง

ม.12

200,000

200,000

200,000

ประชาชนสัญจรไปมาสะดวก

ส่วนโยธา/อบต.

53

โครงการก่อสร้างถนนคสล.   ม.12

เพื่อก่อสร้างถนน   คสล.

ม.12

200,000

200,000

200,000

ประชาชนสัญจรไปมาสะดวก

ส่วนโยธา/อบต.

54

โครงการก่อสร้างร่องระบายน้ำ   ม.12

เพื่อก่อสร้างร่องระบายน้ำ คสล.

ม.12

200,000

200,000

200,000

ไม่มีน้ำท่วมขัง

ส่วนโยธา/อบต.

55

โครงการก่อสร้างร่องระบายน้ำ   ม.13

เพื่อก่อสร้างร่องระบายน้ำ คสล.

ม.13

200,000

200,000

200,000

ไม่มีน้ำท่วมขัง

ส่วนโยธา/อบต.

56

โครงการก่อสร้างลานกีฬา

ม.13

เพื่อก่อสร้างลานกีฬา

ม.13

300,000

-

-

ประชาชนมีสถานที่ออกกำลังกาย

ส่วนโยธา/อบต.

57

โครงการพัฒนาแหล่งน้ำ  

ม.13

เพื่นพัฒนาแหล่งน้ำ

ม.13

300,000

-

-

ประชาชนมีน้ำใช้เพื่อการเกษตรตลอดปี

ส่วนโยธา/อบต.

58

โครงการขยายเขตไฟฟ้าเพื่อการเกษตร   ม.13

เพื่อขยายเขตบริการไฟฟ้า

ม.13

200,000

200,000

200,000

ประชาชนปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ส่วนโยธา/อบต.

59

โครงการก่อสร้างร่องระบายน้ำ   ม.14

เพื่อก่อสร้างร่องระบาย   คสล.

ม.14

200,000

200,000

200,000

ไม่มีน้ำท่วมขัง

ส่วนโยธา/อบต.

ยุทธศาสตร์ที่ 1    การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน

ที่

แผนงาน/โครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

พ.ศ.2556

พ.ศ.2557

พ.ศ.2558

60

โครงการขยายเขตไฟฟ้า ม.14

เพื่อขยายเขตบริการไฟฟ้า

ม.14

200,000

200,000

200,000

ประชาชนปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ส่วนโยธา/อบต.

61

โครงการปรับปรุงถนนดิน   ม.14

เพื่อปรับปรุงถนนดิน

ม.14

200,000

200,000

200,000

ประชาชนสัญจรไปมาสะดวก

ส่วนโยธา/อบต.

62

โครงการซ่อมแซมคันคูส่งน้ำ   ม.14

เพื่อซ่อมแซมคันคูส่งน้ำ

ม.14

200,000

200,000

200,000

ประชาชนมีน้ำใช้เพื่อการเกษตรตลอดปี

ส่วนโยธา/อบต.

63

โครงการซ่อมแซมถนนลูกรัง   ม.1-14

เพื่อซ่อมแซมถนนลูกรัง

ม.1-14

200,000

200,000

200,000

ประชาชนสัญจรไปมาสะดวก

ส่วนโยธา/อบต.

64

โครงการซ่อมแซมถนน   คสล. ม.1-14

เพื่อก่อสร้างถนน   คสล.

ม.1-14

200,000

200,000

200,000

ประชาชนสัญจรไปมาสะดวก

ส่วนโยธา/อบต.

65

โครงการป้องกันตลิ่งพัง

เพื่อป้องกันตลิ่งพัง

ม.3-5

300,000

-

-

ตลิ่งมีความมั่นคงแข็งแรง

ส่วนโยธา

66

โครงการปรับปรุงซ่อมแซมอาคารสำนักงาน

เพื่อปรับปรุงและซ่อมแซมอาคารสำนักงาน

อบต.

300,000

100,000

100,000

สนง.ได้รับการปรับปรุง

ส่วนโยธา/อบต.

67

โครงการปรับปรุงอาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

เพื่อปรับปรุงอาคารศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก   อบต.โคกสี

100,000

100,000

100,000

มีสถานที่เรียนที่เหมาะสม

ส่วนการศึกษา

รวมยุทธศาสตร์ที่ 1

จำนวน 67 โครงการ

14,450,000

9,400,000

9,400,000

 

 

บัญชีโครงการพัฒนา

ภายใต้แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2556-2558)

*************************************************************

 

                                                                             ยุทธศาสตร์ที่ 2   การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจ

แนวทางพัฒนา

                                        2.1 ส่งเสริมและสนับสนุนกลุ่มอาชีพต่าง ๆ ในชุมชน

2.2 พัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา การกีฬาและนันทนาการให้กับเด็ก เยาวชนและประชาชนทุกระดับ

2.3 ส่งเสริมและอนุรักษ์วัฒนธรรมที่ดีงามของท้องถิ่น

2.4 พัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนด้านการสาธารณสุขและสวัสดิการชุมชน

2.5 ส่งเสริมและสนับสนุนให้หมู่บ้าน/ชุมชนปลอดยาเสพติดและปลอดอบายมุข

2.6 ส่งเสริมระบบความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินให้สามารถลดปัญหาความรุนแรงจากอุบัติเหตุ อุบัติภัย

       อาชญากรรมและสาธารณภัยต่าง ๆ

ยุทธศาสตร์ที่ 2    การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจ

ที่

แผนงาน/โครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงานที่รับผิดชอบ

พ.ศ.2556

พ.ศ.2557

พ.ศ.2558

1

โครงการจัดหาอุปกรณ์กีฬาให้กับทุกหมู่บ้าน

เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์การเล่นกีฬาให้ทุกหมู่บ้าน

ทุกหมู่บ้าน

30,000

30,000

30,000

ประชาชนมีสุขภาพร่างกายแข็งแรงี่ได้ออกกำลังกาย

สำนักปลัด

2

โครงการแข่งขันกีฬา   อปท.สัมพันธ์

เพื่อเข้าร่วมแข่งขันกีฬา   อปท.ในเขตอำเภอเมืองขอนแก่น

บุคลากรใน   อบต.โคกสี

30,000

30,000

30,000

มีความสามัคคีในท้องถิ่นอำเภอเมือง

ส่วนการศึกษา

3

โครงการจัดหาครุภัณฑ์ วัสดุ   อุปกรณ์การเรียนการสอนของศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

เพื่อจัดหาครุภัณฑ์ วัสดุ   อุปกรณ์การเรียนการสอนของศูนย์เด็กเล็ก

ศูนย์เด็กฯ   อบต.

60,000

60,000

60,000

เด็กเล็ก   นักเรียนมีการพัฒนา และมี ความพร้อมในการเรียนรู้

ส่วนการศึกษา

4

โครงการตั้งจุดตรวจ/จุดบริการ   ในช่วงเทศกาลสำคัญ

เพื่อตั้งจุดตรวจ/จุดบริการ   ประชาชนในช่วงเทศกาลสำคัญ

จุดตรวจ

หน้า   อบต.

60,000

60,000

       60,000

อุบัติเหตุในช่วงเทศกาลลดลง

สำนักปลัด

5

โครงการอบรมทีมกู้ชีพ-กู้ภัย

เพื่อให้ได้ความรู้การกู้ภัย

เกิดความชำนาญในการกู้ภัย

บุคลากรทีมกู้ภัย

50,000

50,000

50,000

จ้าหน้าที่ได้ช่วยเหลือผู้ประสบภัยอย่างปลอดภัย

สำนักปลัด

6

โครงการจัดตั้งและฝึกอบรม

อปพร.ตำบลโคกสี

เพื่อให้   อปพร.มีทักษะความชำนาญในการ ปฏิบัติงาน

อปพร.อบต.

100,000

100,000

100,000

อปพร.มีทักษะความชำนาญในการ ปฏิบัติงาน

สำนักปลัด

7

อุดหนุนอาหารกลางวันโรงเรียนสังกัด   สพฐ.

เพื่อจัดหาอาหารกลางวันให้โรงเรียนในสังกัด   สพฐ.ในเขต

โรงเรียนทั้งหมด

1,800,000

1,800,000

1,800,000

เด็กนักเรียนมีอาหารกลางวันรับประทาน

ส่วนการศึกษา

8

โครงการส่งเสริมประเพณีเข้าพรรษา

เพื่อเป็นการอนุรักษ์ประเพณีเข้าพรรษา

วัดในเขตตำบลโคกสีทั้งหมด

20,000

20,000

20,000

ประเพณีไทยคงอยู่ต่อไปชั่วลูกหลาน

ส่วนการศึกษา

9

โครงการอนุรักษ์ประเพณีสงกรานต์รดน้ำดำหัว

เพื่ออนุรักษ์ประเพณีสงกรานต์รดน้ำดำหัวของผู้สูงอายุ

ทุกหมู่บ้าน

50,000

50,000

50,000

ประเพณีสงกรานต์คงอยู่คู่ต่อไปชั่วลูกหลาน

ส่วนการศึกษา

ยุทธศาสตร์ที่ 2    การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจ

ที่

แผนงาน/โครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน

ที่รับผิดชอบ

พ.ศ.2556

พ.ศ.2557

พ.ศ.2558

10

อุดหนุนเบี้ยยังชีพคนชรา

เพื่อจ่ายเบี้ยยังชีพให้คนชราในเขต

คนชราในเขตทั้งหมด

1,500,000

1,500,000

1,500,000

คนชราในเขตได้รับเบี้ยยังชีพทุกคน

สำนักปลัด

11

อุดหนุนเบี้ยยังชีพคนพิการ

เพื่อจ่ายเบี้ยยังชีพให้คนพิการในเขต

คนพิการในเขตทั้งหมด

300,000

300,000

300,000

คนพิการในเขตได้รับเบี้ยยังชีพทุกคน

สำนักปลัด

12

อุดหนุนเบี้ยยังชีพผู้ป่วยเอดส์

เพื่อจ่ายเบี้ยยังชีพให้ผู้ป่วยเอดส์ในเขต

ผู้ป่วยเอดส์ในเขตทั้งหมด

60,000

60,000

60,000

ผู้ป่วยเอดส์ได้รับเบี้ยยังชีพทุกคน

สำนักปลัด

13

อุดหนุนกองทุนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าตำบลโคกสี

เพื่ออุดหนุนกองทุนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าตำบลโคกสี

กองทุนฯโคกสี

35,000

35,000

35,000

กองทุนฯ   ได้รับการอุดหนุน

ส่วนสาธารณสุข.

14

อุดหนุนคณะกรรมการดำเนินงานพัฒนาสาธารณสุข

เพื่อส่งเสริมการทำงานของคณะกรรมการฯ

คณะกรรมการฯ

140,000

140,000

140,000

สาธารณสุขก้าวหน้า

ส่วนสาธารณสุข

15

สมทบกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น

สนับสนุนกองทุนหลักประกันสุขภาพ

กองทุนหลักฯ

150,000

150,000

150,000

กองทุนลักฯ   ได้รับการสนับสนุน

ส่วนสาธารณสุข

16

โครงการจัดบริการการแพทย์ฉุกเฉิน   (EMS)

เพื่อบริการประชาชนในเวลาที่เกิดเหตุฉุกเฉิน

ประชาชนในเขต/ใกล้เคียง

50,000

50,000

50,000

ประชาชนมีความปลอดภัยในชีวิตมากขึ้น

ส่วนสาธารณสุข

17

โครงการส่งเสริมกิจกรรมศูนย์เรียนรู้

เพื่อส่งเสริมกิจกรรมของศูนย์เรียนรู้ในตำบลโคกสี

ศูนย์เรียนรู้ในตำบล

50,000

50,000

50,000

ประชาชนได้ความรู้ที่เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตทุก   ๆ ด้าน

ส่วนสำนักปลัด

18

โครงการจ้างเด็กนักเรียน-นักศึกษาทำงาน

เพื่อส่งเสริมให้เด็กนักเรียนมีรายได้

20 คน

50,000

50,000

50,000

เด็กนักเรียนมีรายได้

ส่วนการศึกษา

19

โครงการจัดการแข่งขันกีฬาตำบลโคกสี

เพื่อส่งเสริมการเล่นกีฬา

14 หมู่บ้าน

200,000

200,000

200,000

ประชาชนได้ออกกำลังกาย

ส่วนการศึกษา

ยุทธศาสตร์ที่ 2    การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจ

ที่

แผนงาน/โครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน

ที่รับผิดชอบ

พ.ศ.2556

พ.ศ.2557

พ.ศ.2558

20

โครงการจัดส่งนักกีฬาเข้าร่วมแข่งขันกีฬาต่าง   ๆ

เพื่อส่งเสริมการเป็นนักกีฬาประเภทต่าง   ๆ

นักกีฬาในเขต

20,000

20,000

20,000

ประชาชนได้รับการส่งเสริมเป็นนักกีฬา

ส่วนการศึกษา

21

โครงการจัดกิจกรรมวันเด็กแห่งชาติ

เพื่อส่งเสริมนันทนาการแก่เด็ก   ๆ

เด็กในเขตและใกล้เคียง

50,000

50,000

50,000

เด็ก   ๆ ตระหนักถึงหน้าที่ของตนเอง

ส่วนการศึกษา.

22

ค่าอาหารเช้าและกลางวันสำหรับเด็กปฐมวัย   ศพด.อบต.โคกสี

เพื่อจัดหาอาหารเช้าและกลางวันให้กับ   ศพด.อบต.โคกสี

ศูนย์เด็กฯ อบต.โคกสี

533,000

533,000

533,000

เด็กปฐมวัยได้รับอาหารเช้าและกลางวันเพียงพอ

ส่วนการศึกษา

23

โครงการเข้าร่วมแข่งขันกีฬาศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก

เพื่อส่งเสริมการเล่นกีฬาของเด็กปฐมวัย

ศูนย์เด็กฯ อบต.โคกสี

15,000

15,000

15,000

เด็ก   ๆ ปฐมวัยมีสุขภาพแข็งแรง

ส่วนการศึกษา

24

โครงการจัดซื้อหนังสือพิมพ์ประจำหมู่บ้าน

ซื้อหนังสือพิมพ์ให้ที่อ่านหนังสือพิมพ์ทุกหมู่บ้าน

ทุกหมู่บ้าน

50,000

50,000

50,000

ประชาชนมีหนังสือพิมพ์อ่าน

สำนักปลัด

25

โครงการจัดงานวันพ่อแห่งชาติ

เพื่อระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของคุณของนายหลวงและพระคุณของพ่อ

ทุกหมู่บ้าน

20,000

20,000

20,000

ประชาชนได้แสดงความจงรักภักดีต่อนายหลวงและพระคุณของพ่อ

สำนักปลัด

26

โครงการจัดงานวันแม่แห่งชาติ

เพื่อระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของแม่แห่งแผ่นดินและพระคุณของแม่

ทุกหมู่บ้าน

20,000

20,000

20,000

ประชาชนได้แสดงความจงรักภักดีแม่แผ่นดินและพระคุณของแม่

สำนักปลัด

27

โครงการจัดงานวันปิยะมหาราช

เพื่อระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ   ร.5

ทุกหมู่บ้าน

5,000

5,000

5,000

ประชาชนได้แสดงความจงรักภักดีต่อ   ร.5

สำนักปลัด

28

อุดหนุนคณะกรรมการหมู่บ้านทั้ง   14 หมู่บ้าน

เพื่อเป็นค่าจัดงานประเพณีท้องถิ่นหรืองานกีฬาต่าง   ๆ

ทุกหมู่บ้าน

100,000

100,000

100,000

ประเพณีท้องถิ่นได้รับการสนับสนุน

ส่วนการศึกษา

ยุทธศาสตร์ที่ 2    การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจ

ที่

แผนงาน/โครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน

ที่รับผิดชอบ

พ.ศ.2556

พ.ศ.2557

พ.ศ.2558

29

อุดหนุนศูนย์สงเคราะห์ผู้สูงอายุตำบลโคกสี

อุดหนุนศูนย์สงเคราะห์ฯ

ศูนย์สงเคราะห์ตำบลโคกสี

30,000

30,000

30,000

ศูนย์สงเคราะห์ฯ   ได้รับการสนับสนุน

สำนักปลัด

30

โครงการจัดงานวันลอยกระทง

เพื่อส่งเสริมประเพณีลอยกระทง

ทุกหมู่บ้าน

42,000

42,000

42,000

ประเพณีท้องถิ่นได้รับการสนับสนุน

ส่วนการศึกษา

31

โครงการโรงสีข้าวชุมชน

เพื่อส่งเสริมการจัดตั้งโรงสีข้าวชุมชน

ทุกหมู่บ้าน

50,000

50,000

50,000

ชุมชนได้มีข้าวไว้บริโภคและราคาถูก

ส่วนสำนักปลัด

32

โครงการสนับสนุนกลุ่มอาชีพต่าง   ๆ

เพื่อส่งเสริมการกลุ่มอาชีพต่าง   ๆ ในตำบลโคกสี

ทุกหมู่บ้าน

140,000

140,000

140,000

ชุมชนมีอาชีพที่ยั่งยืน

ส่วนสำนักปลัด

33

โครงการส่งเสริมประเพณีท้องถิ่น(บุญบั้งไฟ)

เพื่อสนับสนุนการจัดงานประเพณีบุญบั้งไฟ

ทุกหมู่บ้าน

100,000

100,000

100,000

ประเพณีท้องถิ่นได้รับการสนับสนุน

ส่วนการศึกษา

34

โครงการสนับสนุนสื่อการเรียนการสอน

เพื่อสนับสนุนสื่อการเรียนการสอนให้กับโรงเรียนในเขต

โรงเรียนในเขต

100,000

100,000

100,000

สถานศึกษามีสื่อการเรียนการสอน

ส่วนการศึกษา

35

โครงการตำบลนมแม่

เพื่อส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่

สตรีมีครรภ์และสตรีให้นมบุตร

30,000

30,000

30,000

ทารกแรกเกิดได้ดื่มนมแม่อย่างน้อย   6 เดือน

ส่วนการศึกษา

36

โครงการติดตั้งระบบกรองน้ำดื่มประจำตำบล

เพื่อติดตั้งระบบกรองน้ำดื่มประจำตำบล

ตำบลโคกสี

300,000

-

-

มีน้ำสะอาดสำหรับบริการประชาชน

ส่วนโยธา

รวมยุทธศาสตร์ที่ 2

จำนวน   36     โครงการ

6,340,000

6,310,000

6,310,000

บัญชีโครงการพัฒนา

ภายใต้แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2556-2558)

*************************************************************

                                                ยุทธศาสตร์ที่ 3 ยุทธศาสตร์ด้านการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม     

                                         แนวทางพัฒนา     

                1. เสริมสร้างการจัดการทรัพยากรน้ำและสิ่งแวดล้อมในท้องถิ่น

                        2. การเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะชมชน และสิ่งปฏิกูล

                3. การพัฒนาฟื้นฟูแหล่งน้ำ

                4. การพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพดินให้อุดมสมบูรณ์

 

ยุทธศาสตร์ที่ 3    ยุทธศาสตร์การพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ที่

แผนงาน/โครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน

ที่รับผิดชอบ

พ.ศ.2556

พ.ศ.2557

พ.ศ.2558

1

โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์สถานที่ราชการและสถานที่สำคัญเขตในตำบล

เพื่อปรับปรุงสภาพแวดล้อมให้ดีขึ้น

ทุกหมู่

200,000

200,000

200,000

มีสภาพแวดล้อมที่ดี น่าอยู่

ส่วนโยธา

2

โครงการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย

เพื่อช่วยเหลือประชาชนเมื่อเกิดสาธารณภัย

ทุกหมู่

500,000

500,000

500,000

ประชาชนได้รับการช่วยเหลือเมื่อประสบอุบัติภัย

สำนักปลัด

3

โครงการบริหารจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล

1.เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์ต่าง ๆรวมทั้ง

2.บริหารจัดการขยะมูลฝอย

3.จัดตั้งเตาเผาขยะชุมชน

14 หมู่บ้าน

9000,000

500,000

500,000

ชุมชนสะอาดและปลอดภัย

สำนักปลัด/สาธารณสุข

4

โครงการจัดหาและปลูกต้นไม้เฉลิมพระเกียรติ

เพื่อจัดซื้อต้นไม้และปลูกเพื่อเฉลิมพระเกียรติ

14 หมู่บ้าน

30,000

30,000

30,000

เพิ่มพื้นที่ป่าให้กับชุมชนในที่สาธารณะ

สำนักปลัด

5

โครงการจัดงานวันเกษตร

เพื่อส่งเสริมอาชีพเกษตรกรรม

14 หมู่บ้าน

50,000

50,000

50,000

ความสามัคคีในหมู่ชุมชนตำบลโคกสี

สำนักปลัด

6

โครงการศูนย์บริการ

และถ่ายทอดเทคโนโลยีการเกษตร

เพื่อสนับสนุนภารกิจของศูนย์ฯ

ศูนย์เทคโนโลยี

20,000

20,000

20,000

สนับสนุนศูนย์บริการฯ

เป็นแหล่งเรียนรู้

สำนักปลัด

รวมยุทธศาสตร์ที่ 3

จำนวน 6     โครงการ

1,700,000

220,000

220,000

 

บัญชีโครงการพัฒนา

ภายใต้แผนพัฒนาสามปี (พ.ศ.2556-2558)

*************************************************************

                                                ยุทธศาสตร์ที่ 4     ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี

                        แนวทางพัฒนา

                      1.   ส่งเสริมการส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรทุกภาคส่วน

                       2.   ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรและองค์กรให้มีขีดความสามารถในการพัฒนา

3.   ส่งเสริมระบบการบริการประชาชน

                      4.   ส่งเสริมให้ประชาชนในการรับรู้ข้อมูลข่าวสาร

 

ยุทธศาสตร์ที่ 4    ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี

ที่

แผนงาน/โครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน

ที่รับผิดชอบ

พ.ศ.2556

พ.ศ.2557

พ.ศ.2558

1

โครงการประชุมประชาคมหมู่บ้านและตำบล

เพื่อให้ประชาชนได้แสดงความคิดเห็น   ร่วมกันในการพัฒนาท้องถิ่น

14   หมู่บ้าน

30,000

30,000

30,000

ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น

สำนักปลัด

2

โครงการ อบต.สัญจรพบปะประชาชน

เพื่อพบปะประชาชน และรับ

ทราบปัญหาของประชาชนในพื้นที่

14 หมู่บ้าน

50,000

50,000

50,000

การแก้ปัญหาชุมชนถูกจุดตรงตามความต้องการ

สำนักปลัด

3

โครงการอุดหนุนศูนย์รวมข้อมูลข่าวสาร

เพื่อสนับสนุนงบประมาณให้กับศูนย์รวมข้อมูลข่าวสาร

1 โครงการ

30,000

30,000

30,000

มีศูนย์จัดซื้อจัดจ้างที่มีอุปกรณ์ทีทันสมัยมี

สำนักปลัด

4

โครงการฝึกอบรมเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร   อบต. โคกสี

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการให้กับบุคลากร

บุคลากรทั้งหมด

400,000

400,000

400,000

ทำให้บุคลากรมีศักยภาพมากขึ้น

สำนักปลัด

5

โครงการประเมินความพึงพอใจจากองค์กรภายนอก

เพื่อให้การมีการพัฒนาในการปฏิบัติงาน

อบต.

30,000

30,000

30,000

ปรับปรุงและแก้ไขให้องค์กรดีขึ้น

สำนักปลัด

6

โครงการจัดเก็บข้อมูลท้องถิ่น  

เพื่อจัดเก็บข้อมูลความจำเป็พื้นฐานด้านต่าง   ๆ

14 หมู่บ้าน

40,000

40,000

40,000

ได้ข้อมูลเพื่อเป็นแนวทางการแก้ปัญหาชุมชน

สำนักปลัด

7

ค่าใช้จ่ายในการจัดการเลือกตั้ง

เพื่อจัดการเลือกตั้งสมาชิกสภา   อบต.และผู้บริหารสภาท้องถิ่น

สมาชิกสภา อบต.โคกสี

200,000

100,000

100,000

การเลือกตั้งที่ประสบผลสำเร็จ

สำนักปลัด

 

ยุทธศาสตร์ที่ 4    ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี

ที่

แผนงาน/โครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน

ที่รับผิดชอบ

พ.ศ.2556

พ.ศ.2557

พ.ศ.2558

8

รายจ่ายเพื่อทุนการศึกษาของบุคลากร

เพื่อให้ทุนศึกษาต่อสำหรับบุคลากร

บุคลากร อบต.

150,000

150,000

150,000

บุคลากรได้พัฒนาตนเอง

สำนักปลัด

9

อุดหนุนศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดจังหวัดขอนแก่น

เพื่อสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานของศูนย์ฯ  

ศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้ฯ จังหวัดขอนแก่น

20,000

20,000

20,000

ศูนย์ฯ มีงบประมาณในการดำเนินงานเพื่อส่วนรวม

สำนักปลัด

10

อุดหนุนศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดอำเภอเมืองขอนแก่น

เพื่อสนับสนุนงบประมาณ   ในการดำเนินงานของศูนย์ฯ

ศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้ฯ อำเภอเมืองขอนแก่น

30,000

30,000

30,000

ศูนย์ฯ มีงบประมาณในการดำเนินงานเพื่อส่วนรวม

สำนักปลัด

11

โครงการฝึกอบรมอาสาสมัครปกป้องสถาบัน(อสป.)

เพื่อให้เกิดความรักความสามัคคีของคนในชาติอันมีพระมหากษัตริย์เป็นศูนย์รวม

สมาชิกอาสาสมัครปกป้องสถาบัน

40,000

40,000

40,000

ประชาชนเกิดความรักความสามัคคี  

สำนักปลัด

12

ค่าฝึกอบรมพัฒนาครูและบุคลากรทางการศึกษา

เพื่อเพิ่มศักยภาพบุคลากรทางการศึกษา

บุคลากรทางการศึกษา อบต.

50,000

50,000

50,000

มีบุคลากรที่มีศักยภาพมากขึ้น

ส่วนการศึกษา

13

อุดหนุนศูนย์ปฏิบัติการต่อสู้เพื่อเอาชนะยาเสพติดตำบลโคกสี

เพื่อสนับสนุนงบประมาณในการดำเนินงานของศูนย์ฯ  

ศูนย์ปฏิบัติการฯ ตำบลโคกสี

30,000

30,000

30,000

ศูนย์ฯ มีงบประมาณในการดำเนินงานเพื่อส่วนรวมในพื้นที่ตำบลโคกสี

สำนักปลัด

14

โครงการอุดหนุนกองทุนเฉลิมพระเกียรติช่วยเหลือผู้ป่วย   HIV อำเภอเมือง

อุดหนุนกองทุนเฉลิม พระเกียรติช่วยเหลือผู้ป่วย   HIV อำเภอเมือง

กองทุนฯ HIV อำเภอเมืองขอนแก่น

15,000

15,000

15,000

กองทุนฯ HIV มีความเข้มแข็งเป็นประโยชน์ต่อผู้ป่วยมากขึ้น

สำนักปลัด

15

โครงการจัดหาครุภัณฑ์ วัสดุ สำนักงาน อบต.

เพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณ์และครุภัณฑ์สำนักงาน

อบต.โคกสี

200,000

200,000

200,000

อบต.มีวัสดุอุปกรณ์ที่ทันสมัย

อบต.

ยุทธศาสตร์ที่ 4    ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี

ที่

แผนงาน/โครงการ

วัตถุประสงค์

เป้าหมาย

งบประมาณและที่มา

ผลลัพธ์ที่คาดว่าจะได้รับ

หน่วยงาน

ที่รับผิดชอบ

พ.ศ.2556

พ.ศ.2557

พ.ศ.2558

16

อุดหนุนเหล่ากาชาดจัดหวัดขอนแก่น

เพื่อสนับสนุนกิจการกาชาดจังหวัด

กาชาดขอนแก่น

20,000

20,000

20,000

ได้ใช้ประโยชน์ในการบริการประชาชน

ส่วนสำนักปลัด

รวมยุทธศาสตร์ที่   4

จำนวน 16 โครงการ

1,335,000

1,335,000

1,335,000

รวมยุทธศาสตร์ทั้ง 4 ยุทธศาสตร์

จำนวน 125 โครงการ

23,825,000

17,295,000

17,295,000

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญ

สภาพทั่วไปและข้อมูลพื้นฐานที่สำคัญขององค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี

1. ประวัติความเป็นมา

บรรพบุรุษของคนในตำบลโคกสี (บ้านโคกสี) พื้นเพเดิมนั้นมีเชื้อสายมาจากเมืองนครจำปาสี (พระธาตุนาดูนในปัจจุบัน)   นครจำปาสีถูกภัยสงครามจนเป็นเหตุให้เจ้าเมืองนครจำปาสี และภรรยาถึงแก่ความตาย   คนที่อยู่ในนครก็หนีแตกกระเจิงไปคนละทิศละทาง   โดยแตกออกเป็น 3 กลุ่มใหญ่ แต่ร่วมเดินทางมาด้วยกัน เมื่อ 3 กลุ่มนั้นเดินทางหนีภัยสงครามมาถึงบ้านโนนเมือง (ในพื้นที่อำเภอโกสุมพิสัยในปัจจุบัน)   จึงได้แยกเดินทางออกเป็น   3   สาย กลุ่มที่ 1 เดินทางไปทางเมืองฟ้าแดดสูงยาง (จังหวัดกาฬสินธุ์ในปัจจุบัน)   กลุ่มที่ 2   เดินทางไปทางด้านทิศเหนือข้ามแม่น้ำโขงมุ่งสู่นครเวียงจันทน์หรือหลวงพระบาง ส่วนกลุ่มที่ 3 เดินทางมาตามลำน้ำพอง พอมาถึงบริเวณทิศตะวันตกของที่ตั้งวัดศิริธรรมิกาวาส บ้านโคกสีในปัจจุบันได้พากันพักอาศัยอยู่ชั่วคราว ทำให้เกิดความคิดขึ้นว่าตรงบริเวณนี้อุดมสมบูรณ์ พอที่จะตั้งหมู่บ้านเป็นหลักแหล่งได้ จึงได้ตั้งหมู่บ้านพากันพำนักอาศัยอยู่ แต่อีกส่วนหนึ่ง   ได้เดินทางต่อไปทางเมืองหนองคาย   เมื่อไปถึงได้เล่าถึงความเดือดร้อนให้เจ้าเมืองหนองคายทราบ เจ้าเมืองจึงได้จัดสถานที่ให้อยู่ตามแนวลำน้ำโขง โดยในกลุ่มนี้มีลูกชายคนเล็กของเจ้าเมืองนครจำปาสีมีนามว่า เจ้าวัชระกุมาร ที่รอดพ้นชีวิตจากภัยสงครามร่วมเดินทางมาด้วย

          ส่วนกลุ่มคนที่ตั้งหมู่บ้านอยู่บริเวณที่เป็นที่ตั้งบ้านโคกสีปัจจุบัน   ก็เริ่มตั้งตัวเป็นปึกแผ่นตามลำดับ ต่อมาได้มีพระสงฆ์ 2 รูป คือ พระอาจารย์จันดี กับ พระอาจารย์โสดา เดินทางมาจากเมืองสาเกตุ   (จังหวัดร้อยเอ็ด)   ได้มาร่วมตั้งหมู่บ้าน   พร้อมกับตั้งวัดขึ้นประจำหมู่บ้านและได้ตั้งชื่อหมู่บ้านและวัด   ขึ้นว่า บ้านโคกก่อง   และ   วัดบ้านโคกก่อง”   ทั้งสองพระอาจารย์และชาวบ้านญาติโยมก็อยู่กันมาโดยปกติสุขตามลำดับ     แต่ต่อมาได้เกิดโรคระบาดขึ้น   เป็นเหตุให้ผู้คนล้มตาย พระอาจารย์ทั้งสองกับชาวบ้าน   จึงร่วมใจกันทำพิธีแก้เคล็ดย้ายบ้านและวัดข้ามฟากถนนมาทางด้านทิศตะวันออก เมื่อประมาณปีพ.ศ. 2393 และเพื่อให้เกิดความเป็นสิริมงคลจึงได้ตั้งชื่อบ้านขึ้นใหม่ว่า บ้านโคกสี และ วัดบ้านโคกสี

          ในเวลาต่อมาบ้านโคกสี   ได้ยกฐานะขึ้นเป็นตำบลโคกสี     โดยแรกเริ่มนั้นมีทั้งหมด   11 หมู่บ้าน   หลังจากนั้นในปี พ.ศ. 2528   ตำบลโคกสีได้แยกหมู่บ้านออกเพื่อตั้งเป็นตำบลอีกตำบลหนึ่งคือตำบลหนองตูม   และมีการแบ่งแยกหมู่บ้านใหม่ที่เหลืออยู่   จนในปัจจุบันนี้มีทั้งหมด 14 หมู่บ้าน และได้ยกฐานะจากสภาตำบลโคกสี เป็นองค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี เมื่อปี พ.ศ. 2539

2. ข้อมูลพื้นฐาน

ทำเลที่ตั้งตำบล ตำบลโคกสีเป็น  1 ใน 16    ตำบลในเขตอำเภอเมืองขอนแก่น   จังหวัดขอนแก่น ซึ่งตั้งอยู่ห่างจากที่ว่าการอำเภอเมืองขอนแก่นไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือประมาณ 15 กิโลเมตร มีอาณาเขตพื้นที่อยู่ติดกับท้องถิ่นใกล้เคียง 4 ส่วน คือ ตำบลหนองตูม, ตำบลศิลา, ตำบลบึงเนียม, ตำบลกู่ทอง อำเภอเชียงยืน ดังนี้

ทิศเหนือ จรด     ตำบลหนองตูม   อำเภอเมือง       จังหวัดขอนแก่น

                   ทิศตะวันออก      จรด     ตำบลกู่ทอง     อำเภอเชียงยืน   จังหวัดมหาสารคาม

                   ทิศตะวันตก       จรด     ตำบลศิลา       อำเภอเมือง     จังหวัดขอนแก่น

                   ทิศใต้             จรด     ตำบลบึงเนียม   อำเภอเมือง     จังหวัดขอนแก่น

                  

การแบ่งเขตปกครอง   แบ่งออกเป็น   14   หมู่บ้าน   ดังนี้ 

หมู่บ้าน

ชื่อบ้าน

ชื่อผู้ใหญ่บ้าน

1

บ้านโคกสี

นายธนพงษ์  

กองไตร

2

บ้านโคกสี

นายสุคพ  

เก้งโทน

3

บ้านยางหย่อง

นายสุวิท  

ผาผง

4

บ้านพรหมนิมิต

นางรุ่งทิวา

แก้วพรรณา

5

บ้านหนองเต่า

นายเสรี          

สะตะ

6

บ้านหนองหัววัว

นายสุรพงษ์    

เตินเตือน

7

บ้านหนองไหล

นายถาวร    

กองฝ่าย

8

บ้านเลิง

นายทองผัด  

เบ้าเฮือง  

9

บ้านหนองบัวทอง

นายบุดดา    

ลากุล

10

บ้านบึงเรือใหญ่

นายโสรส  

สิมมา

11

บ้านท่าพระทราย

นายสงกรานต์

สังยวน

12

บ้านโคกแปะ

นายอุดม  

โมลี

13

บ้านโคกสี

นายกัณหา

ล่าสุด

14

บ้านโคกสี

นายบุญถม    

มาตย์สมบัติ

          เนื้อที่    

ตำบลโคกสี มีพื้นที่ประมาณ 20,373 ไร่ หรือ 36.92 ตารางกิโลเมตร   พื้นที่ทำการเกษตร 17,023 ไร่

ลักษณะภูมิประเทศ

          สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไป เป็นที่ราบเรียบและที่ราบลุ่มแม่น้ำ มีลำน้ำพองไหลผ่านเป็นแนวเขตการติดต่อทางด้านทิศตะวันตก ดินเป็นดินร่วนปนทรายและดินทราย คุณภาพความอุดมสมบูรณ์ของดินค่อนข้างต่ำ

ประชากร                                                                                                                                                            จำนวนประชากรที่อาศัยในตำบลโคกสีทั้งสิ้น 8,911 คน เป็นชาย 4,443 คน เป็นหญิง 4,468 คน โดยแยกเป็นรายหมู่บ้านดังนี้

หมู่บ้าน

ชื่อบ้าน

จำนวนประชากร

จำนวน

หลังคาเรือน

จำนวนผู้มีสิทธิเลือกตั้ง

ชาย

หญิง

รวม

ชาย

หญิง

รวม

1

บ้านโคกสี

335

315

650

208

790

751

1,541

2

บ้านโคกสี

301

311

612

217

728

772

1,500

3

บ้านยางหย่อง

157

151

308

88

389

350

739

4

บ้านพรหมนิมิต

487

502

989

410

945

1,057

2,002

5

บ้านหนองเต่า

151

165

316

80

389

393

782

6

บ้านหนองหัววัว

251

275

526

129

618

666

1,284

7

บ้านหนองไหล

563

496

1,059

256

1,268

1,183

2,451

8

บ้านเลิง

511

497

1,008

269

1,213

1,195

2,408

9

บ้านหนองบัวทอง

232

228

460

116

510

517

1,027

10

บ้านบึงเรือใหญ่

178

172

350

86

401

399

800

11

บ้านท่าพระทราย

145

165

310

66

325

393

718

12

บ้านโคกแปะ

553

571

1,124

274

1,267

1,331

2,598

13

บ้านโคกสี

379

405

784

191

950

1,000

1,950

14

บ้านโคกสี

200

215

415

118

473

518

991

รวม

4,443

4,468

8,911

2,508

10,266

10,525

20,791

หมายเหตุ ข้อมูล ณ เดือนเมษายน 2555 จากสำนักบริหารทะเบียน อำเภอเมืองขอนแก่น กรมการปกครอง

3. หน่วยธุรกิจในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี    

                   - คลินิกเอกชน                                         4                  แห่ง

                   - ปั้มน้ำมันและก๊าซ                                    5                  แห่ง

                   - โรงงานอุตสาหกรรม                                 19                แห่ง

                   - โรงสี (ขนาดเล็ก)                                    19                แห่ง

                   - ร้านค้าของชำ                                        96                แห่ง

                   - ร้านขายยา                                           4                  แห่ง

4. สภาพทางสังคม

          การศึกษา

                   - โรงเรียนประถมศึกษา                                7                  แห่ง

                   - โรงเรียนมัธยมศึกษา                                 1                  แห่ง

                   - โรงเรียนอาชีวศึกษา                                 -                  แห่ง

                   - ศูนย์การศึกษานอกโรงเรียน                         1                  แห่ง

                      - ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก                                 1                  แห่ง

                   - โรงเรียนกีฬาจังหวัดขอนแก่น                        1                  แห่ง

                   - ที่อ่านหนังสือพิมพ์                                  14                แห่ง

                   - ศูนย์การเรียนรู้                                     14                แห่ง

          ในพื้นที่องค์ การบริหารส่วนตำบลโคกสี มีโรงเรียนในระดับมัธยมศึกษาและประถมศึกษาขยายโอกาสรวม 8 โรงเรียนมีจำนวนครู นักเรียน   ดังนี้

1) โรงเรียนโคกสีพิทยาสรรค์     โดย นายวิชัย   อ่อนเบ้า   เป็นผู้อำนวยการสถานศึกษา        

ครูอาจารย์ ชาย 18 คน หญิง 19 คน รวมจำนวน 37 คน ลูกจ้างประจำ   5   คน

ชั้น / ปี

ชาย

หญิง

รวม

มัธยมศึกษาปีที่ 1

59

86

145

มัธยมศึกษาปีที่ 2

89

75

164

มัธยมศึกษาปีที่ 3

77

74

151

มัธยมศึกษาปีที่ 4

68

77

145

มัธยมศึกษาปีที่ 5

39

49

88

มัธยมศึกษาปีที่ 6

22

43

65

รวม

354

404

758

รายชื่อโรงเรียน

จำนวนนักเรียน

ผู้อำนวยการ

อนุบาล

(คน)

ป.1   ป.4

(คน)

ป.5   ป.6

(คน)

รวมทั้งสิ้น

(คน)

ชุมชนบ้านพรหมนิมิต

37

45

25

107

นายวันชัย สุตรีศาสตร์

บ้านโคกแปะ

18

56

37

111

นายสมยศ   มีลุน

บ้านโคกสีวิทยาเสริม

38

68

57

163

นายสุบิน ดีรักษา

บ้านเลิง

24

29

24

77

นายเรืองชัย   สินธพ

บ้านหนองไหลหนองบัวทอง

37

70

35

142

นายอาทิตย์ จันโทริ

บ้านหนองเต่าบึงเรือใหญ่และยางหย่อง

24

31

16

71

นายยงยุทธ์ พิมหานาม

บ้านหนองหัววัว

13

17

15

45

นายประสิทธิ์ แก้วบ่อ

รวม

191

316

209

716

การจัดการศึกษา องค์การบริหารส่วนตำบลโคกสีได้ดำเนินการจัดการเรียนการสอนเด็กก่อนวัยเรียน ในชั้นอนุบาล 2-4 จำนวน 3 ห้องเรียน ณ อาคารส่วนการศึกษา มีบุคลากร 9 คน โดยมีหัวหน้าส่วนการศึกษา นักวิชาการศึกษา ผู้ช่วยนักวิชาการศึกษา ครูผู้ดูแลเด็ก 2 คน และผู้ช่วยผู้ดูแลเด็ก 4 คน

การสถาบันและองค์กรทางศาสนา

                - วัด / สำนักสงฆ์                                     12                แห่ง

                   - ฮวงซุ้ย                                               1                แห่ง

          การสาธารณสุข

                   - โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพชุมชน                   1                  แห่ง    

                   - ศูนย์ฟื้นฟูสมรรถภาพคนงานภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จังหวัดขอนแก่น        1      แห่ง

          ความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

                   - สถานีตำรวจภูธรประจำตำบล                        1                  แห่ง

                   - เจ้าหน้าที่ตำรวจ                                     6                  นาย

การบริการพื้นฐาน

          การคมนาคม

- ทางหลวงแผ่นดิน   หมายเลข 209     สายขอนแก่น-ยางตลาด ผ่านหมู่ที่ 4 บ้านพรหมนิมิต

                   - ทางหลวงแผ่นดิน   หมายเลข 2183   สายขอนแก่น-น้ำพอง ผ่านบ้านโคกสี   บ้านเลิง

                   - การคมนาคมระหว่างหมู่บ้านในตำบลมีความสะดวกปานกลาง

การโทรคมนาคม

                   - ที่ทำการไปรษณีย์โทรเลข                          1        แห่ง

                   - องค์การสื่อสารแห่งประเทศไทย ช่อง 3,9          1        แห่ง

                   - สถานีโทรทัศน์ ไทยPBS                            1        แห่ง

                   - สถานีวิทยุกรมประชาสัมพันธ์แห่งประเทศไทยช่อง 11     1             แห่ง

          การไฟฟ้า

                   - ไฟฟ้าเข้าถึง             14                หมู่บ้าน

                   - ไฟฟ้าถนนสาธารณะ     14                หมู่บ้าน

                   - จำนวนประชากรที่ใช้ไฟฟ้าเฉลี่ย   ร้อยละ 100

          แหล่งน้ำธรรมชาติ

                   - ลำน้ำ , ลำห้วย                   14      สาย     พื้นที่     8,984  ไร่

                   - บึง , หนอง              30      แห่ง     พื้นที่     4,763   ไร่

          แหล่งน้ำที่สร้างขึ้น

                   - คลองส่งน้ำ                        จำนวน                     2   แห่ง       พื้นที่   16,144 ไร่

                   - บ่อน้ำตื้น                          จำนวน            11  แห่ง        พื้นที่       2,616 ไร่

                   - ฝาย / ทำนบ /พนังกั้นน้ำ       จำนวน            8    แห่ง       พื้นที่       3,852 ไร่

                   - สระน้ำ                            จำนวน            19 แห่ง        พื้นที่       2,174 ไร่

                   - บ่อน้ำบาดาล                      จำนวน            74 แห่ง        พื้นที่          74 ไร่

                   - ประปาท้องถิ่น / หมู่บ้าน         จำนวน            12 แห่ง

6. ข้อมูลอื่นๆ

          ทรัพยากรธรรมชาติในพื้นที่

                   - ที่ดินสาธารณประโยชน์  จำนวน            25      แห่ง    พื้นที่     2,763   ไร่

                   - พื้นที่ป่าไม้                         จำนวน            7        แห่ง    พื้นที่        936  ไร่

                   - ค่ายลูกเสือ                       จำนวน            1        แห่ง    พื้นที่      200 ไร่

          มวลชนจัดตั้ง

                   - กองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง              จำนวน            14      กองทุน

                   - กองทุนหมุนเวียน                           จำนวน            14      กองทุน

                   - กองทุนออมทรัพย์เพื่อการผลิต             จำนวน            14      กองทุน

                   - กองทุนออมทรัพย์หมู่บ้าน                  จำนวน            14      กองทุน

                   - ธนาคารหมู่บ้าน                            จำนวน            1        กองทุน

                   - กองทุนสงเคราะห์ราษฎร                   จำนวน            1        กองทุน

                   - กลุ่มแปรรูปอาหารทะเล          จำนวน            1        กลุ่ม

                   - อปพร.                                      จำนวน            60      นาย

                   - ประชาคมหมู่บ้าน                           จำนวน            14      หมู่บ้าน

                   - หน่วยกู้ชีพ                                  จำนวน            15      คน

2.2 ข้อมูลเกี่ยวกับศักยภาพของท้องถิ่น

ตำบลโคกสี มีลักษณะเป็นชุมชนชนบท ประชากรส่วนใหญ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม ส่งผลให้ตำบลโคกสี มีบทบาทความสำคัญทางด้านเกษตรกรรม การทำนา และการปลูกพืชอาหารสัตว์ ปลูกอ้อย โดยพื้นที่ทางการเกษตร ทั้งหมด 21,243 ไร่ จากพื้นที่ทั้งหมด 30,000 ไร่ คิดเป็น ร้อยละ 70 ของพื้นที่ทั้งหมดของตำบล

 

ความต้องการของประชาชน

  1. 1.

                        1.1 ก่อสร้างและปรับปรุงถนนคสล,ถนนลาดยาง, ถนนลูกรัง,

1.2 สร้างสะพาน คสล.,วางท่อระบายน้ำ

1.3 ขยายเครือข่ายโทรศัพท์ขององค์การโทรศัพท์ทุกหมู่บ้าน

1.3 ขยายเขตไฟฟ้าแรงต่ำ และติดตั้งไฟฟ้าแสงสว่างสาธารณะให้เพียงพอ

1.4 ขุดลอกแหล่งน้ำตามธรรมชาติ

  1. 2.

                                 2.1 ปรับปรุงโครงสร้าง ระบบการผลิตการเกษตร

                                 2.2 ต้องการความรู้ ด้านวิชาการและทัศนศึกษา

                                 2.3 ต้องการได้รับการฝึกอบรมกลุ่มอาชีพต่าง ๆ และสนับสนุนเงินทุนพร้อมอุปกรณ์

                                 2.4 ต้องการพันธุ์ข้าวใหม่และความรู้ทางการเกษตรที่ทันสมัย

   3. ความต้องการด้านสาธารณสุขและอนามัย

                3.1 ต้องการได้รับการฝึกอบรมทางโภชนาการอนามัยแม่และเด็ก

                3.2ต้องการได้รับการเผยแพร่ความรู้ด้านสุขศึกษา

                         3.3 ต้องการได้รับความรู้เกี่ยวกับการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด

                3.4ต้องการการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุ , เด็ก, สตรี และคนพิการ

                         3.5 กำจัดยุงลายให้หมดทั้งหมู่บ้าน

                         3.6 จัดโครงการสงเคราะห์ผู้สูงอายุ ทุกหมู่บ้าน

                         3.7 จัดทำโครงการรณรงค์โรคพิษสุนัขบ้า     

4.   ความต้องการด้านน้ำกิน-น้ำใช้เพื่อการเกษตร

                 4.1 ต้องการปรับปรุงระบบการผลิตประปาหมู่บ้านให้เพียงพอต่อความต้องการ

                 4.2 ต้องการขุดลอกแหล่งน้ำตามธรรมชาติ และการกำจัดวัชพืช

5.   ความต้องการด้านความรู้ เพื่อการปรับปรุงคุณภาพชีวิต

                 5.1 ต้องการได้รับความรู้ด้านอาชีพ

                 5.2 ต้องการได้รับความรู้ด้านการศึกษา/การศึกษาแบบเบ็ดเสร็จ (กศน.)

                 5.3 ต้องการความรู้ด้านสุขภาพอนามัย(อนามัยแม่และเด็ก/อบรมแม่บ้านโภชนาการอื่น ๆ)

                 5.4 ประชาสัมพันธ์ให้เห็นความสำคัญของการศึกษา

                 5.5 ความต้องการรณรงค์ให้เห็นความสำคัญของการเลือกตั้ง

                 5.6 จัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับการป้องกัน และแก้ไขปัญหายาเสพติดต่าง ๆ

                 5.7 จัดการแข่งขันกีฬาตำบล ต้านยาเสพติด

                 5.8 ฟื้นฟูและส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น

                 5.9 ปรับปรุงทัศนียภาพ ตามแนวถนนทุกสาในพื้นที่ อบต.

6.   ความต้องการด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

                 6.1 ต้องการให้มีการรณรงค์ เรื่อง การปลูกป่าทดแทน

 6.2 ต้องการได้รับความรู้เสริม ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

 6.3 ต้องการให้ขุดลอกหนองน้ำที่ตื้นเขิน และกำจัดวัชพืช

 6.4 ต้องการมีร่องระบายน้ำเสียที่มีคุณภาพ มีความมั่งคงถาวร

7.   ความต้องการด้านการบริหาร และจัดการขององค์การบริหารส่วนตำบล

                   7.1 จัดประชุมประชาคมเพื่อสร้างความเข้มแข็ง

                   7.2   จัดหาบุคลากรให้เพียงพอในการปฏิบัติงาน

2.3   ภารกิจ   อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล

                    การวิเคราะห์ภารกิจ   อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล ตามพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และตามพระราชบัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ.2542 และรวบรวมกฎหมายอื่นของ อบต. ใช้เทคนิค Swot เข้ามาช่วย ทั้งนี้เพื่อให้ทราบว่า องค์การบริหารส่วนตำบล มีอำนาจหน้าที่ที่จะเข้าไปดำเนินการ แก้ไขปัญหาในเขตพื้นที่ให้ตรงกับความต้องการของประชาชนได้อย่างไร โดยวิเคราะห์จุดแข็ง จุดอ่อน โอกาส ภัยคุกคาม ในการดำเนินการตามภารกิจตามหลัก SWOT องค์การบริหารส่วนตำบลโคกสีกำหนดวิธีการดำเนินการตามภารกิจสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด แผนพัฒนาตำบล นโยบายของรัฐบาล และนโยบายของผู้บริหารท้องถิ่น ทั้งนี้ สามารถวิเคราะห์ภารกิจให้ตรงกับสภาพปัญหา โดยสามารถกำหนดแบ่งภารกิจ ได้เป็น 6 ด้าน ซึ่งภารกิจดังกล่าวถูกกำหนดอยู่ในพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล พ.ศ. 2537 และตามพระราช บัญญัติกำหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอำนาจให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2542  ดังนี้

อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล

มาตรา ๖๖ องค์การบริหารส่วนตำบลมีอำนาจหน้าที่ในการพัฒนาตำบลทั้งในด้านเศรษฐกิจสังคมและวัฒนธรรม

มาตรา ๖๗ ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบล มีหน้าที่ต้องทำในเขตองค์การบริหารส่วน

ตำบล ดังต่อไปนี้
(๑) จัดให้มีและบำรุงรักษาทางน้ำและทางบก
(๒) รักษาความสะอาดของถนน ทางน้ำ ทางเดิน และที่สาธารณะ รวมทั้งกำจัดมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
(๓) ป้องกันโรคและระงับโรคติดต่อ
(๔) ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
(๕) ส่งเสริมการศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
(๖) ส่งเสริมการพัฒนาสตรี เด็ก เยาวชน ผู้สูงอายุ และผู้พิการ
*(๗) คุ้มครอง ดูแล และบำรุงรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
*(๘) บำรุงรักษาศิลปะ จารีตประเพณี ภูมิปัญญาท้องถิ่น และวัฒนธรรมอันดีของท้องถิ่น
*(๙) ปฏิบัติหน้าที่อื่นตามที่ทางราชการมอบหมายโดยจัดสรรงบประมาณหรือบุคลากรให้ตามความจำเป็น และสมควร (อนุ (๘) (๙) ของมาตรา ๖๗ แก้ไข โดยพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ ๓ ) พ.ศ. ๒๕๔๒)

มาตรา ๖๘ ภายใต้บังคับแห่งกฎหมาย องค์การบริหารส่วนตำบลอาจจัดทำกิจการในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล ดังต่อไปนี้
(๑) ให้มีน้ำเพื่อการอุปโภค บริโภค และการเกษตร
(๒) ให้มีและบำรุงการไฟฟ้าหรือแสงสว่างโดยวิธีอื่น
(๓) ให้มีและบำรุงรักษาทางระบายน้ำ
(๔) ให้มีและบำรุงสถานที่ประชุม การกีฬา การพักผ่อนหย่อนใจและสวนสาธารณะ
(๕) ให้มีและส่งเสริมกลุ่มเกษตรกรและกิจการสหกรณ์
(๖) ส่งเสริมให้มีอุตสาหกรรมในครอบครัว
(๗) บำรุงและส่งเสริมการประกอบอาชีพของราษฎร
(๘) การคุ้มครองดูแลและรักษาทรัพย์สินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
(๙) หาผลประโยชน์จากทรัพย์สินขององค์การบริหารส่วนตำบล
(๑๐) ให้มีตลาด ท่าเทียบเรือ และท่าข้าม
(๑๑) กิจการเกี่ยวกับการพาณิชย์
(๑๒) การท่องเที่ยว
(๑๓) การผังเมือง
(อนุ (๑๒) (๑๓) ของมาตรา ๖๘ แก้ไข โดยพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ ๓ ) พ.ศ. ๒๕๔๒)

มาตรา ๖๙ อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลตามมาตรา ๖๖ มาตรา ๖๗ และมาตรา ๖๘ นั้น ไม่เป็นการตัดอำนาจหน้าที่ของกระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ ในอันที่จะดำเนินกิจการใด ๆ เพื่อประโยชน์ของประชาชนในตำบล แต่ต้องแจ้งให้องค์การบริหารส่วนตำบลทราบล่วงหน้าตามสมควร ในกรณีนี้หากองค์การบริหารส่วนตำบลมีความเห็นเกี่ยวกับการดำเนินกิจการดังกล่าวให้กระทรวง ทบวง กรม หรือองค์การหรือหน่วยงานของรัฐ นำความเห็นขององค์การบริหารส่วนตำบลไปประกอบพิจารณาดำเนินกิจการนั้นด้วย

มาตรา ๖๙/๑* การปฏิบัติงานตามอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลต้องเป็นไปเพื่อประโยชน์สุขของประชาชน โดยใช้วิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี และให้คำนึงถึงการมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล การจัดทำงบประมาณ การจัดซื้อจัดจ้าง การตรวจสอบ การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการเปิดเผยข้อมูลข่าวสาร ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับว่าด้วยการนั้น และหลักเกณฑ์และวิธีการที่กระทรวงมหาดไทยกำหนด(มาตรา ๖๙/๑ เพิ่มเติม โดยพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ ๕ ) พ.ศ. ๒๕๔๖)

มาตรา ๗๐ เพื่อประโยชน์ในการปฏิบัติหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ ให้องค์การบริหารส่วนตำบลมีสิทธิได้รับทราบข้อมูลข่าวสารจากทางราชการในเรื่องที่เกี่ยวกับการดำเนินกิจการของทางราชการในตำบล เว้นแต่ข้อมูลหรือข่าวสารที่ทางราชการถือว่าเป็นความลับเกี่ยวกับการรักษาความมั่นคงแห่งชาติ

มาตรา ๗๑* องค์การบริหารส่วนตำบลอาจออกข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลเพื่อใช้บังคับในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลได้เท่าที่ไม่ขัดหรือแย้งต่อกฎหมายเพื่อปฏิบัติการให้เป็นไปตามอำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล หรือเมื่อมีกฎหมายบัญญัติให้องค์การบริหารส่วนตำบล ออกข้อบัญญัติหรือให้มีอำนาจออกข้อบัญญัติ ในการนี้จะกำหนดค่าธรรมเนียมที่จะเรียกเก็บและกำหนดโทษปรับผู้ฝ่าฝืนด้วยก็ได้ แต่มิให้กำหนดโทษปรับเกินหนึ่งพันบาท เว้นแต่จะมีกฎหมายบัญญัติไว้เป็นอย่างอื่น

ร่างข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลจะเสนอได้ก็แต่นายกองค์การบริหารส่วนตำบลหรือสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลหรือราษฎรในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลตามกฎหมายว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติ
เมื่อสภาองค์การบริหารส่วนตำบลและนายอำเภอให้ความเห็นชอบร่างข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลตามวรรคหนึ่งแล้ว ให้นายกองค์การบริหารส่วนตำบลลงชื่อและประกาศเป็นข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลต่อไปในกรณีที่นายอำเภอไม่เห็นชอบด้วยกับร่างข้อบัญญัติองค์กรบริหารส่วนตำบลใด ให้ส่งคืนสภาองค์การบริหารส่วนตำบลภายในสิบห้าวันตั้งแต่วันที่นายอำเภอได้รับร่างข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลดังกล่าวเพื่อให้สภาองค์การบริหารส่วนตำบลพิจารณาทบทวนร่างข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลนั้นใหม่ หากนายอำเภอไม่ส่งร่างข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลคืนสภาองค์การบริหารส่วนตำบล ภายในสิบห้าวันนับแต่วันที่นายอำเภอได้รับร่างข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลดังกล่าว ให้ถือว่านายอำเภอเห็นชอบกับร่างข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลนั้นเมื่อสภาองค์การบริหารส่วนตำบลพิจารณาทบทวนร่างข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลตามวรรคสี่แล้ว มีมติยืนยันตามร่างข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลเดิมด้วยคะแนนเสียงไม่น้อยกว่าสองในสามของจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ให้นายกองค์การบริหารส่วนตำบลลงชื่อและประกาศเป็นข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลได้โดยไม่ต้องขอความเห็นชอบจากนายอำเภอ แต่ถ้าสภาองค์การบริหารส่วนตำบลไม่ยืนยันภายในสามสิบวันนับแต่วันที่ได้รับร่างข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลคืนจากนายอำเภอหรือยืนยันด้วยคะแนนเสียงน้อยกว่าสองในสามของจำนวนสมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบลทั้งหมดเท่าที่มีอยู่ ให้ร่างข้อบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบลนั้นเป็นอันตกไป(มาตรา ๗๑ แก้ไข โดยพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ ๕ ) พ.ศ. ๒๕๔๖)

มาตรา ๗๒* การบริหารงานบุคคลขององค์การบริหารส่วนตำบลให้เป็นไปตามกฎหมายว่าด้วยการนั้น
เพื่อประโยชน์แก่กิจการขององค์การบริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนตำบลอาจขอให้ข้าราชการพนักงาน หรือลูกจ้างของส่วนราชการ หน่วยงานของรัฐ รัฐวิสาหกิจ หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ไปดำรงตำแหน่งหรือปฏิบัติกิจการขององค์การบริหารส่วนตำบลเป็นการชั่วคราวได้โดยไม่ขาดจากต้นสังกัดเดิม ทั้งนี้ ให้ผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นผู้มีอำนาจอนุญาตได้ตามความจำเป็น และในกรณีที่เป็นข้าราชการซึ่งไม่อยู่ในอำนาจของผู้ว่าราชการจังหวัด ให้กระทรวงมหาดไทยทำความตกลงกับหน่วยงานต้นสังกัดก่อนแต่งตั้ง(มาตรา ๗๒ แก้ไข โดยพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ ๕ ) พ.ศ. ๒๕๔๖)

มาตรา ๗๓ องค์การบริหารส่วนตำบลอาจทำกิจการนอกเขตองค์การบริหารส่วนตำบล หรือร่วมกับสภาตำบล องค์การบริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือหน่วยการบริหารส่วนท้องถิ่นอื่น เพื่อกระทำกิจการร่วมกันได้ ทั้งนี้ เมื่อได้รับความยินยอมจากสภาตำบล องค์การบริหารส่วนตำบล องค์การบริหารส่วนจังหวัด หรือหน่วยการบริหารราชการส่วนท้องถิ่นที่เกี่ยวข้อง และกิจกรรมนั้นเป็นกิจการที่จำเป็นต้องทำและเป็นการเกี่ยวเนื่องกับกิจการที่อยู่ในอำนาจหน้าที่ของตน

แนวทางในการกำหนดโครงสร้างส่วนราชการและกรอบอัตรากำลัง

          องค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี คณะกรรมการกลางพนักงานส่วนตำบล (ก.อบต.) กำหนดให้เป็นขนาดกลาง โดยกำหนดโครงสร้างการแบ่งส่วนราชการออกเป็น 4 ส่วน ได้แก่ ส่วนสำนักงานปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล ส่วนการคลัง ส่วนโยธา และส่วนการศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม กำหนดให้มีกรอบอัตรากำลังจำนวนทั้งสิ้น 4   อัตรา โดย ก.ท. (เดิม) กำหนดตำแหน่งในสายงานไว้เพียง 18 สายงานและกำหนดว่าตำแหน่งในแต่ละสายงานจะมีจำนวนเท่าไหร่ ทำให้องค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี ไม่สามารถกำหนดตำแหน่งต่าง ๆ เพิ่มใหม่ได้ตามความจำเป็นที่จะต้องใช้คนที่มีความรู้ความสามารถด้านอื่นๆ นอกเหนือจากตำแหน่งที่กำหนดไว้ เพื่อให้แก้ปัญหาของประชาชนในเขตตำบลโคกสี ดังนั้น จึงต้องมีการกำหนดกรอบอัตรากำลังให้สอดคล้องกับภารกิจและอำนาจหน้าที่ เพื่อที่จะสามารถแก้ไขปัญหาขององค์การบริหารส่วนตำบลได้อย่างมีประสิทธิภาพ

โครงสร้างการกำหนดส่วนราชการ

                   จากการที่องค์การบริหารส่วนตำบลได้กำหนดภารกิจหลักและภารกิจรองที่จะดำเนินการดังกล่าว โดยองค์การบริหารส่วนตำบล กำหนดตำแหน่งของพนักงานส่วนตำบลให้ตรงกับภารกิจดังกล่าว และในระยะแรกการกำหนดโครงสร้างส่วนราชการที่จะรองรับการดำเนินการตามภารกิจนั้น อาจกำหนดเป็นภารกิจอยู่ในงาน หรือกำหนดเป็นฝ่าย และในระยะต่อไป เมื่อมีการดำเนินการตามภารกิจนั้น และองค์การบริหารส่วนตำบลพิจารณาเห็นว่า ภารกิจนั้นมีปริมาณงานมากพอก็อาจจะพิจารณาตั้งเป็นกองต่อไป ดังนี้

โครงสร้างตามแผนอัตรากำลังปัจจุบัน

โครงสร้างตามแผนอัตรากำลังใหม่

หมายเหตุ

1.   สำนักงานปลัด อบต.

1.1   งานบริหารทั่วไป

1.2   งานนโยบายและแผน

1.   สำนักงานปลัด อบต.

1.1   งานบริหารทั่วไป  

1.2 งานนโยบายและแผน

2.   ส่วนการคลัง

2.1 งานการเงินและบัญชี

2.2 งานทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ

2.3   งานพัฒนาและจัดเก็บรายได้

2.   ส่วนการคลัง

2.1 งานการเงินและบัญชี

2.2 งานทะเบียนทรัพย์สินและพัสดุ

2.3 งานพัฒนาและจัดเก็บรายได้

3.   ส่วนโยธา

3.1   งานก่อสร้าง

3.2 งานผังเมืองและงานประสานสาธารณูปโภค

3.   ส่วนโยธา

3.1 งานก่อสร้าง

3.2 งานผังเมืองและงานประสานสาธารณูปโภค      

4.ส่วนการศึกษา   ศาสนาและวัฒนธรรม

4.1 งานบริหารการศึกษา

4.2 งานส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

4.   ส่วนการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

4.1 งานบริหารการศึกษา

4.2 งานส่งเสริมการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

5.   ส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

5.1 งานบริการสาธารณสุขและงานสาธารณสุขอื่น

5.   ส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม

5.1   งานบริการสาธารณสุขและงานสาธารณสุขอื่น

กระบวนการบริหารงานบุคคล   ประกอบด้วย 3   ส่วน   คือ

- สภาองค์การบริหารส่วนตำบล ได้แก่ ประธานสภา , รองประธานสภา  และ   สมาชิกสภาองค์การ

บริหารส่วนตำบล

- ผู้บริหาร   ได้แก่ นายกองค์การบริหารส่วนตำบล เป็นผู้บริหารสูงสุด และรองนายกองค์การบริหาร

ส่วนตำบล เป็นผู้ช่วยผู้บริหาร และเลขานุการนายกองค์การบริหารส่วนตำบล เป็นผู้ช่วยผู้บริหาร

- สำนักงานองค์การบริหารส่วนตำบล ได้แก่   ปลัด อบต. เป็นผู้บริหารสูงสุดฝ่ายข้าราชการประจำ, รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นผู้ช่วย, หัวหน้าสำนักปลัด, หัวหน้าส่วนการคลัง, หัวหน้าส่วนโยธา, หัวหน้าส่วนการศึกษาฯ, หัวหน้าส่วนสาธารณสุขฯ และ เจ้าหน้าที่ประจำส่วนต่าง ๆ

คณะผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี

ที่

ชื่อ สกุล

ตำแหน่ง

1

นายชาลี

ลาสา

นายกองค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี

2

นายบุญนอง

ทัพซ้าย

รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี

3

นายทองกาน

สิมวงค์

รองนายกองค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี

สภาองค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี

ที่

ชื่อ สกุล

ตำแหน่ง

1

นายจรูญชัย

สำนักดี

ประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี

2

นายเอกพร

มาตรา

รองประธานสภาองค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี

3

นางสาวพราวภัสสร

รัตนพรอาภาพัทธ์

เลขานุการสภาองค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี

สมาชิกสภาองค์การบริหารส่วนตำบล แยกเป็นรายหมู่บ้าน

ที่

ชื่อ - สกุล

ตำแหน่ง

หมู่ที่

บ้าน

1

นายสุริยันต์

สุนทองห้าว

สมาชิก อบต.

1

โคกสี

2

น.ส.สุมาลัย

เนียมชมภู

สมาชิก อบต.

1

โคกสี

3

นายสุธี

พลสันต์

สมาชิก อบต.

2

โคกสี

4

นายสุนทร

ปัดทำ

สมาชิก อบต.

2

โคกสี

5

นายวิชาญ

สมอุ่มจารย์

สมาชิก อบต.

3

ยางหย่อง

6

นายดี

ไกรยรัตน์

สมาชิก อบต.

3

ยางหย่อง

7

นายเอกพร

มาตรา

สมาชิก อบต.

4

พรหมนิมิต

8

นางหนูเทน

ศรีสะอาด

สมาชิก อบต.

4

พรหมนิมิต

9

นายวีระโชติ

พิศฐาน

สมาชิก อบต.

5

หนองเต่า

10

นายบรรพต

ผิวแดง

สมาชิก อบต.

5

หนองเต่า

11

นายประสาตร์

ดาทุมมา

สมาชิก อบต.

6

หนองหัววัว

12

นางอำนวย

โคตรนั๊วะ

สมาชิก อบต.

6

หนองหัววัว

13

นายสุชาติ

ท่างาม

สมาชิก อบต.

7

หนองไหล

14

นางเตียง

คำมูลแสน

สมาชิก อบต.

7

หนองไหล

15

นายสุรพล

ศรีบัวภา

สมาชิก อบต.

8

เลิง

16

นายรุด

มีจังหาร

สมาชิก อบต.

8

เลิง

17

นางสมศรี

สิมมา

สมาชิก อบต.

9

หนองบัวทอง

18

นางบุญช่วย

เวฬุวนาทร

สมาชิก อบต.

9

หนองบัวทอง

19

นายวิเชียร

วงษ์ไชยา

สมาชิก อบต.

10

บึงเรือใหญ่

20

นางสุวรรณี

ภูชาดึก

สมาชิก อบต.

10

บึงเรือใหญ่

21

นายวิชัย

วงษ์จันทอง

สมาชิก อบต.

11

ท่าพระทราย

22

นายสมพง์

พันเดช

สมาชิก อบต.

11

ท่าพระทราย

23

นายกองแป้ง

โคกแปะ

สมาชิก อบต.

12

โคกแปะ

24

นายโกศรี

จอมทอง

สมาชิก อบต.

12

โคกแปะ

25

นายจรูญชัย

สำนักดี

สมาชิก อบต.

13

โคกสี

26

นายไพรัตน์

ราชบัวน้อย

สมาชิก อบต.

13

โคกสี

27

นายสุมิตร

จุ้ยพุทธา

สมาชิก อบต.

14

โคกสี

28

นายทองผัด

เคนบู

สมาชิก อบต.

14

โคกสี

         

จำนวนบุคลากรพนักงานส่วนตำบลและพนักงานจ้าง    มีทั้งหมดจำนวน 42   คน แยกตามส่วนดังนี้

โดยการควบคุม ดูแล งานราชการประจำองค์การบริหารส่วนตำบล                      

ที่

ชื่อ สกุล

ตำแหน่งปัจจุบัน

1

นางสาวพราวภัสสร

รัตนพรอาภาพัทธ์

ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล

2

 นายดิเรกราช

ไชยสาคร

รองปลัดองค์การบริหารส่วนตำบล

        

ฝ่ายตรวจสอบภายใน                      

ที่

ชื่อ สกุล

ตำแหน่งปัจจุบัน

1

นางสาววิภาวดี

แสนส่อง

นักวิชาการตรวจสอบภายใน

       

ส่วนสำนักปลัด             จำนวน 14 คน

ที่

ชื่อ สกุล

ตำแหน่งปัจจุบัน

1

นายวุฒิสาร

กลางการ

หัวหน้าส่วนสำนักปลัด

2

นายสกรรจ์

เดชขันธ์

นิติกร

3

นางรุ่งรภัส  

โพติยะ

เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน

4

นางสาวชวนพิศ

โคตรสีวงษ์

เจ้าพนักงานธุรการ

5

นางณัฐวรรณ์

แวงสุข

เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล

6

นายไวพจน์

ลาดอาสา

บุคลากร

7

นายชัยณรงค์

ไชยศรี

นักพัฒนาชุมชน

8

นางอริสรา

ตราชู

เจ้าหน้าที่ธุรการ

9

นางอภิญญา  

เจนบุรี

เจ้าพนักงานพัฒนาชุมชน

10

นายชาลี

ลาสา

ผู้ช่วยนักพัฒนาชุมชน

11

นางสุพินยา

ใจเที่ยง

ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่ธุรการ

12

นางสุลัดษดา

วงค์พุฒ

ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล

13

นายเกรียงไกร

นาชิน

พนักงานขับรถ   (ส่วนกลาง)

14

นายวิตรฐี

ศรีโย

นักการภารโรง

 

ส่วนการคลัง               จำนวน 6 คน

ที่

ชื่อ สกุล

ตำแหน่งปัจจุบัน

1

นางละออง

สีทาโส

หัวหน้าส่วนการคลัง

2

นางสาววิภาวดี

แสนส่อง

เจ้าหนักงานการเงินและบัญชี

3

นางสุกัญญา

พันธ์เดช

เจ้าพนักงานจัดเก็บรายได้

4

นางจุรีพร

ศรีชัยปัญญา

เจ้าพนักงานพัสดุ

5

นางสาวนิภาพร

พุทธคำ

เจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้

6

นางดวงมณี

บุญลือ

ผู้ช่วยเจ้าหน้าที่จัดเก็บรายได้

ส่วนโยธา                   จำนวน 6 คน

ที่

ชื่อ สกุล

ตำแหน่งปัจจุบัน

1

นายคมคาย

ม่วงนิล

หัวหน้าส่วนโยธา

2

นายเฉลียว

กุลกิจ

วิศวกรโยธา

3

นายจักรพันธ์

พหลเทพ

นายช่างโยธา

4

นายประยูร  

แง่พรหม

ผู้ช่วยช่างโยธา

5

นายจิตรกรณ์

ธรรมธน

ผู้ช่วยช่างไฟฟ้า

6

นายนิรันดร์

สมปิตตะ

พนักงานขับรถยนต์   (ส่วนกลาง)

ส่วนการศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม        จำนวน 8 คน

ที่

ชื่อ สกุล

ตำแหน่งปัจจุบัน

1

นางสาวกฤติกานต์

ไกลยา

นักวิชาการศึกษา

2

นางรัตนา

ใยแก้ว

ครูผู้ช่วย

3

นางสำรวย

ทองบุญมา

ครูผู้ช่วย

4

นางศุภาณี

ดาทุมมา

ผู้ช่วย

5

นางบุญถม

มาตรวิเศษ

ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก

6

นางสาววณิชชา

ร้อยพรมมา

ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก

7

นางวิภาวัลย์

เจริญธนพร

ผู้ช่วยครูผู้ดูแลเด็ก

8

นายสุรจักษ์

แก้วบ่อ

ผู้ช่วยนักวิชาการศึกษา

ส่วนสาธารณสุขและสิ่งแวดล้อม        จำนวน 6 คน

ที่

ชื่อ สกุล

ตำแหน่งปัจจุบัน

1

นายธวัชชัย

ทัศนิยม

เจ้าพนักงานส่งเสริมสุขภาพ

2

นายสมภาร

บุรีจันทร์

พนักงานขับรถยนต์   (รถขยะ)

3

นายสมิธ

สายขุน

พนักงานขับรถยนต์   (รถกู้ชีพ)

4

นายสมาน

บุรีจันทร์

คนงานประจำรถขยะ

5

นายสลบ

เก้งโทน

คนงานประจำรถขยะ

6

นายฉลอง

ปัดทำ

คนงานประจำรถขยะ

สถานะทางการคลังขององค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี

ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2555 องค์การบริหารส่วนตำบลได้ประมาณการรับไว้จำนวน 24,860,000 บาท     โดยในส่วนของรายได้ที่องค์การบริหารส่วนตำบลจัดเก็บเอง จะได้ปรับปรุงการจัดเก็บให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น      และในส่วนของงบประมาณรายจ่ายได้กำหนดวงเงินรายจ่ายไว้จำนวน 24,860,000   บาท ซึ่งคาดว่าจะสามารถไปจัดทำการบริการสาธารณะด้านต่าง ๆให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น ซึ่งการจัดทำงบประมาณขององค์การบริหารส่วนตำบลเป็นการจัดทำงบประมาณแบบสมดุล

รายรับงบประมาณ 2555  ประมาณการไว้รวมทั้งสิ้น 24,860,000.-บาท  โดยแยกตามหมวดดังนี้

หมวด

รับจริง

ปี 2553

ประมาณการ

ปี 2554

ประมาณการ

ปี 2555

1. หมวดภาษีอากร

15,188,072.35

10,655,500.00

10,024,500

2. หมวดค่าธรรมเนียมค่าปรับและใบอนุญาต

275,052.00

203,500.00

164,500

3. หมวดรายได้จากทรัพย์สิน

727,053.64

620,000.00

620,000

4. หมวดรายได้จากสาธารณูปโภคและการพาณิชย์

-

-

-

5. หมวดรายได้เบ็ดเตล็ด

348,718.00

201,000.00

51,000

6. หมวดรายได้จากทุน

-

-

-

7. หมวดเงินอุดหนุน                          

18,636,772.00

15,000,000.00

14,000,000

รวม

35,175,667.99

26,680,000.00

24,860,000

       รายจ่ายงบประมาณ 2555  ประมาณการไว้รวมทั้งสิ้น 24,860,000.-บาท  โดยแยกตามหมวดรายจ่ายดังนี้

หมวด

จ่ายจริง

ปี 2553

งบประมาณ

ปี 2554

งบประมาณ

ปี 2555

1. หมวดรายจ่ายงบกลาง

3,359,559.00

3,253,560.00

1,336,820

2. หมวดเงินเดือนและค่าจ้างประจำ

5,058,120.00

7,384,080.00

  

10,307,700

3. หมวดค่าจ้างชั่วคราว

2,554,880.00

2,479,200.00

4. หมวดค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ

8,610,194.00

8,112,360.00

8,717,180

5. หมวดค่าสาธารณูปโภค

500,000.00

490,000.00

485,000

6. หมวดเงินอุดหนุน

2,803,400.00

3,041,800.00

2,349,400

7. หมวดค่าครุภัณฑ์ที่ดินและสิ่งก่อสร้าง                          

2,719,500.00

1,919,000.00

1,663,900

8. หมวดรายจ่ายอื่น                          

654,200.00

-

-

รวม

26,259,853.00

26,680,000.00

24,860,000

เพื่อดำเนินการตามอำนาจหน้าที่ให้ได้อย่างครอบคลุม สามารถแก้ไขปัญหาและตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นให้ได้ตามปัญหาและความต้องของประชาชนซึ่งตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.. 2550 ให้ความสำคัญกับการกระจายอำนาจแก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยกำหนดกรอบความเป็นอิสระในการปกครองตนเองตามเจตนารมณ์ของประชาชน และความเป็นอิสระในการกำหนดนโยบายการปกครอง การบริหาร การบริหารงานบุคคล การเงินและการคลัง และมีอำนาจหน้าที่ของตนเอง ส่งผลให้ประชาชนในท้องถิ่นมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางการเมืองและการบริหารมากขึ้น

ยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนาในช่วงสามปี

วิสัยทัศน์ (Vision)

                      

โคกสีเมืองน่าอยู่ ควบคู่ด้วยคุณภาพชีวิตชุมชนอย่างยั่งยืน

ฟื้นฟูสิ่งแวดล้อม พร้อมการบริหารจัดการแบบมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน

พันธกิจ (Mission) ในการพัฒนาท้องถิ่น

             1. ปรับปรุงพัฒนาการคมนาคมขนส่ง ระบบสาธารณูปโภค และสาธารณูปการให้ได้ มาตรฐาน เพียงพอต่อความต้องการของประชาชน เพื่อรองรับการขยายตัวของชุมชนและเศรษฐกิจของท้องถิ่น

2. ส่งเสริมคุณภาพชีวิต ระบบการศึกษาและการสาธารณสุข ตลอดจนอนุรักษ์และพัฒนาศิลปวัฒนธรรมอันดี

งามตลอดจนรักษาภูมิปัญญาของท้องถิ่น

3. พัฒนาแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการอนุรักษ์ให้ยั่งยืนและมีความสมดุล  

4. ส่งเสริมการเกษตร เศรษฐกิจชุมชน สามารถพึงตนเองและสามารถดำรงชีวิตอยู่อย่างยั่งยืนและมีความสุข

5. ส่งเสริมและสนับสนุนการมีส่วนร่วมของประชาชนและรวมถึงทุกภาคส่วนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องเพื่อการพัฒนาแบบบูรณาการและยั่งยืน

จุดมุ่งหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน

             1. ให้ชุมชนได้รับการบริการด้านโครงสร้างพื้นฐานที่มีความสะดวกสบายอย่างเสมอภาค

           2. ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี และมีขนบธรรมเนียมจารีตประเพณีที่ยั่งยืนควบคู่ท้องถิ่นตลอดไป3.มีแหล่งท่องเที่ยวที่เป็นธรรมชาติ ร่มรื่น และมีสิ่งแวดล้อมที่ดีชุมชนน่าอยู่

            3. มีอาชีพที่มั่นคงมีการเกษตรที่ยั่งยืนพร้อมการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีทางการเกษตร

            4. การบริหารจัดการภาครัฐแบบบูรณาการและมีส่วนร่วมของประชาชน มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ประเด็นยุทธศาสตร์ ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์ ดังนี้

          ยุทธศาสตร์ที่ 1 การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน

          ยุทธศาสตร์ที่ 2 การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจ

          ยุทธศาสตร์ที่ 3 การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

          ยุทธศาสตร์ที่ 4 การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี

ประเด็นยุทธศาสตร์และแนวทางการพัฒนา ประกอบด้วย 4 ยุทธศาสตร์ 17 แนวทางการพัฒนา ดังนี้

1. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านโครงสร้างพื้นฐาน

          เป้าหมาย

เพื่อก่อสร้างและบำรุงซ่อมแซมโครงสร้างพื้นฐานในเขตองค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี ให้มีความสะดวกและได้มาตรฐาน เพื่อสนับสนุนยุทธศาสตร์อื่น ๆ ให้ประสบความสำเร็จ เช่น ด้านคมนาคมขนส่ง ด้านความสงบสุขของประชาชน และด้านเศรษฐกิจ

          แนวทางการพัฒนา

ก่อสร้างโครงสร้างพื้นฐานให้ประชาชนได้รับการบริการสาธารณะให้ความสะดวกรวดเร็วขึ้น โดยเน้นความมีมาตรฐานและมีความยุติธรรม ดังนี้

  1. 1.ก่อสร้างและปรับปรุงซ่อมแซมถนน ท่อระบายน้ำ ให้ได้มาตรฐาน มีความสะดวกยิ่งขึ้น
  2. 2.ขยายเขตไฟฟ้าแสงสว่างและไฟฟ้าสาธารณะ
  3. 3.ขยายเขตการบริการประปาให้เพิ่มมากขึ้น
  4. 4.บริการสาธารณะที่ประชาชนพึงได้รับอย่างทั่วถึง

ตัวชี้วัด

  1. 1.จำนวนถนนและท่อระบายน้ำที่เพิ่มมากขึ้น
  2. 2.ปริมาณการขยายเขตไฟฟ้าแสงสว่างและไฟฟ้าสาธารณะที่เพิ่มขึ้น
  3. 3.ปริมาณการขยายเขตบริการประปาให้ครบทุกครัวเรือน
  4. 4.จำนวนการบริการสาธารณะอื่น ๆ ที่เพิ่มขึ้น เช่น โทรศัพท์สาธารณะ

2. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านคุณภาพชีวิตและเศรษฐกิจ

เป้าหมาย

เพื่อเสริมสร้างทักษะของคนภายในชุมชนทั้งทางด้านจิตใจ ด้านการศึกษา ด้านสุขภาอนามัย   ด้านสวัสดิการและสังคม ด้านกีฬา ให้มีคุณภาพและพึ่งพาตนเองได้ ซึ่งเป็นไปตามแนวทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2556-2558) รวมทั้งเพื่อสนับสนุนเสริมสร้างความเข้มแข็งของชุมชนด้านเศรษฐกิจระดับครัวเรือนและท้องถิ่นเพื่อให้เป็นไปตามยุทธศาสตร์การสร้างศักยภาพการแข่งขันทางเศรษฐกิจและแก้ไขปัญหาความยากจนของยุทธศาสตร์จังหวัดขอนแก่น

แนวทางการพัฒนา

  1. 1.ส่งเสริมและสนับสนุนผลผลิตด้านการเกษตร รวมทั้งส่งเสริมกลุ่มอาชีพต่าง ๆ ในชุมชน
  2. 2.ส่งเสริมและอนุรักษ์วัฒนธรรมที่ดีงามของท้องถิ่น
  3. 3.พัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนด้านการสาธารณสุข และสวัสดิการชุมชน
  4. 4.พัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนการศึกษา การกีฬาและนันทนาการให้กับเด็ก เยาวชนและประชาชนทุกระดับ
  5. 5.ส่งเสริมระบบความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินให้สามารถลดปัญหาความรุนแรงจากอุบัติเหตุ อุบัติภัย อาชญากรรมและสาธารณภัยต่าง ๆ
  6. 6.ส่งเสริมและสนับสนุนให้หมู่บ้าน/ชุมชนปลอดยาเสพติดและปลอดอบายมุข

ตัวชี้วัด

  1. 1.จำนวนชุมชนที่มีความสงบสุขพึงปรารถนาร่วมกัน
  2. 2.จำนวนประชาชนที่ได้รับการศึกษาและศึกษาเพิ่มขึ้น
  3. 3.จำนวนประชาชนผู้มีสุขภาพร่างกายและสุขภาพจิตดี
  4. 4.จำนวนภารกิจที่ได้รับการถ่ายโอนงานบริการกิจการสาธารณะ
  5. 5.ปัญหายาเสพติดไม่มีและชุมชนเข้มแข็ง
    1. 6.ประชาชนได้รับความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินจำนวนอุบัติเหตุอุบัติภัย อาชญากรรมมีจำนวนลดลงจำนวนประชาชนได้รับการบริการสาธารณสุขอย่างก้าวหน้า

3. ยุทธศาสตร์การพัฒนาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

          เป้าหมาย

                   เพื่อพัฒนาระบบการจัดการสิ่งแวดล้อมอันพึงปรารถนาร่วมกันไม่ให้มีปัญหาภายในชุมชนซึ่งเป็น ไปตามแนวทางยุทธศาสตร์พัฒนาจังหวัด

          แนวทางการพัฒนา

  1. 1.สร้างจิตสำนึกและความตระหนักในการจัดการทรัพยากรน้ำและสิ่งแวดล้อม
  2. 2.การบริหารจัดการและรณรงค์กำจัดขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูล
  3. 3.อนุรักษ์ ฟื้นฟูและเพิ่มพื้นที่ป่า
  4. 4.การพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพดินให้อุดมสมบูรณ์

ตัวชี้วัด

  1. 1.จำนวนของการอนุรักษ์ทรัพยากรน้ำและสิ่งแวดล้อมให้เกิดประโยชน์สูงสุด
  2. 2.จำนวนผู้ประกอบการและผู้บริโภคได้ให้ความร่วมมือ
  3. 3.จำนวนปริมาณขยะมูลฝอยที่ให้การบริการลดน้อยลง

4. ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี

          เป้าหมาย

                          1. เพื่อสนับสนุนประชาชนทุกภาคส่วนให้มีส่วนร่วมในการพัฒนาและตรวจสอบการทำงานของภาครัฐและให้บรรจุแนวทางการดำเนินงานของจังหวัดขอนแก่นตามยุทธศาสตร์การบริหารราชการให้เป็นไปตามหลักการบริหารจัดการบ้านเมืองที่ดี

                        2. ส่งเสริมการเพิ่มศักยภาพของบุคลากรและองค์กรให้มีขีดความสามารถในการพัฒนา      

       3. ส่งเสริมการพัฒนาระบบการบริการประชาชน

          แนวทางพัฒนา

                             1. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนและองค์กรทุกภาคส่วน

                             2. ส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของบุคลากร

                             3. พัฒนาระบบการบริการประชาชนให้ดีขึ้น

          ตัวชี้วัด

  1. 1.จำนวนผู้มีส่วนร่วมในการพัฒนาทางการเมืองและสังคม
  2. 2.จำนวนบุคลากรและอุปกรณ์มีศักยภาพในการบริการประชาชนเพิ่มขึ้น
  3. 3.ส่งเสริมการจัดการบริการประชาชนให้ดีขึ้น
  4. 4.ความพึงพอใจของประชาชนผู้ใช้บริการ

ทิศทางการพัฒนากลุ่มจังหวัดและจังหวัด

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนากลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง (กลุ่มจังหวัดร้อยเอ็ด-ขอนแก่น-มหาสารคาม-กาฬสินธุ์)

          คณะรัฐมนตรี มีมติเมือวันที่ 27 พฤศจิกายน 2550 จัดแบ่งกลุ่มจังหวัดเป็น 18 กลุ่มจังหวัด โดยจังหวัดขอนแก่น จัดอยู่ในกลุ่มจังหวัดภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง ประกอบด้วย ขอนแก่น ร้อยเอ็ด มหาสารคามและกาฬสินธุ์ หรือเรียกว่า กลุ่ม ร้อยแก่นสารสินธุ์ (ร้อย มาจาก ร้อยเอ็ด, แก่น มาจาก ขอนแก่น, สาร มาจาก มหาสารคาม, สินธุ์ มาจาก กาฬสินธุ์)

กลุ่มจังหวัดร้อยแก่นสารสินธุ์ กำหนดวิสัยทัศน์การพัฒนาของกลุ่มจังหวัดไว้ว่า เป็นศูนย์กลางด้านอุตสาหกรรมแปรรูปพืชอาหารและพลังงานทดแทน

  1. 1.สร้างมูลค่าเพิ่มให้กับภาคการเกษตร
  2. 2.เพิ่มการลงทุนของภาคเอกชนในอุตสาหกรรมการเกษตร

ประกอบด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนา 3 ยุทธศาสตร์ ดังนี้

  1. 1.พัฒนามาตรฐานและประสิทธิภาพการผลิตด้านการเกษตร
  2. 2.สร้างความพร้อมในการส่งเสริมการลงทุนด้านอุตสาหกรรมแปรรูปการเกษตร
  3. 3.พัฒนาระบบบริหารจัดการการพัฒนากลุ่มจังหวัด

ยุทธศาสตร์การพันสารสินธุ์ กำหนดวิสัยทัศน์การพัฒนา หรือเรียกว่า กลุ่ม "จังหวัดเป็น 18 กลุ่มจังหวัด โดยจังหวัดขอนแก่น จัดอยู่ในกลุ่มจังหวฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดขอนแก่น

วิสัยทัศน์  

ขอนแก่นเมืองน่าอยู่ เป็นศูนย์กลางการเรียนรู้และเมืองหลักเศรษฐกิจของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

พันธกิจ

  1. 1.พัฒนาคนให้มีคุณภาพ มีทักษะในวิชาชีพ มีคุณธรรมและจริยธรรม
  2. 2.จัดการศึกษาในและนอกระบบให้ได้มาตรฐานและสร้างสังคมแห่งการเรียนรู้
  3. 3.สร้างภูมิคุ้มกันให้กับคนและสังคมให้รู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลงอย่างมีเหตุผล
  4. 4.สร้างเศรษฐกิจฐานรากให้เข้มแข็งและแข่งขันได้ โดยเชื่อมโยงการค้า การลงทุน การบริการและการท่องเที่ยว
  5. 5.พัฒนาโครงข่ายระบบการคมนาคมขนส่ง ระบบบริการสาธารณะและเครือข่ายการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้มีประสิทธิภาพและได้มาตรฐาน
  6. 6.บริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เกิดประโยชน์ มีความสมดุลอย่างยั่งยืน
  7. 1.การพัฒนาคุณภาพคนและสังคม
  8. 2.การพัฒนาเมืองและชุมชนให้น่าอยู่
  9. 3.การพัฒนาเศรษฐกิจชุมชนเพื่อการแข่งขัน
  10. 4.การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

ประเด็นยุทธศาสตร์การพัฒนา

ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดขอนแก่น

ประเด็นท้าทายต่อการกำหนดยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด

1. ด้านเศรษฐกิจ

          1.1 จะปรับโครงสร้างการผลิตภาคเกษตรของจังหวัดอย่างไร เพื่อให้

                   - มีมูลค่าเพิ่มขึ้น สอดคล้องกับความต้องการของตลาด

                   - มีความปลอดภัยตามมาตรฐาน (Food Safety)

                   - สอดคล้องกับสภาพดินและภูมิอากาศในพื้นที่

                   - เชื่อมโยงกับการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมในพื้นที่ที่มีอยู่และที่ควรจะเกิดขึ้นในอนาคต

          1.2 จะส่งเสริมให้เกิดการลงทุนภาคอุตสาหกรรมในจังหวัดอย่างไร เพื่อให้

                   - เกิดการลงทุนที่เป็นประโยชน์ต่อจังหวัดในด้านใด

                   - ไม่สร้างปัญหาผลกระทบด้านมลภาวะในพื้นที่

          1.3 จะพัฒนาเพื่อเสริมบทบาทความเป็นพื้นที่จุดตัดของเส้นทางการพัฒนาตามแนว EWEC ได้อย่างไร เพื่อให้

                   - เกิดความเป็นเมืองศูนย์กลางเจริญในระดับอนุภาคลุ่มน้ำโขง

                   - เกิดการพัฒนาภาคการผลิตและภาคบริการต่อเนื่องได้อย่างถูกต้องเหมาะสม

          1.4 จะส่งเสริมด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวตามศักยภาพที่มีอยู่ได้อย่างไร เพื่อให้

                   - เพิ่มรายได้ให้กับจังหวัด

                   - เป็นแหล่งสร้างงานสร้างรายได้ให้กับประชาชนของจังหวัดเพิ่มเติม

                   - เป็นปัจจัยเสริมสร้างภาพลักษณ์และความเชื่อมั่นต่อผู้ที่จะมาลงทุนในจังหวัด

          1.5 จะพัฒนาสร้างสินค้า OTOP ของจังหวัดอย่างไร เพื่อให้

                   - เป็นแหล่งสร้างงาน สร้างรายได้/เสริมให้กับประชาชนของจังหวัด

                   - เกิดสินค้าเป็นเอกลักษณ์จากรากฐานทางวัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นของจังหวัดและสามารถขยายเป็นการพัฒนาเชิงพื้นที่ที่เป็นแหล่งดึงดูดให้เกิดการท่องเที่ยวในจังหวัด

2. ด้านสังคม

          2.1 จะยกระดับคุณภาพชีวิตและคุณภาพทรัพยากรมนุษย์ได้อย่างไร เพื่อให้

                   - มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

                   - สามารถได้รับผลจากการเร่งรัดการพัฒนาด้านเศรษฐกิจทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

          2.2 จะลดหรือขจัดปัญหาสังคมที่สำคัญทั้งในปัจจุบันและมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคต ได้อย่างไร เพื่อให้

                   - มีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

                   - สามารถได้รับผลจากการเร่งรัดการพัฒนาทางด้านเศรษฐกิจทั้งในระยะสั้นและระยะยาว

          2.3 จะลดหรือขจัดปัญหาสังคมที่สำคัญทั้งในปัจจุบันและมีแนวโน้มที่จะเกิดขึ้นในอนาคตได้อย่างไร เพื่อให้

                   - ประชาชนอยู่ร่วมกันอย่างมีความสุข มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

          2.4 จะเสริมสร้างครอบครัว/ชุมชนที่เข้มแข็ง ที่มีภูมิคุ้มกันและมีความสามารถในการรองรับกับภาวะความเปลี่ยนแปลงได้อย่างถูกต้องเหมาะสมได้อย่างไร เพื่อให้

                   - ลดการจัดการและงบประมาณที่ภาคราชการจะต้องเข้าไปดำเนินการแก้ไขปัญหา

                   - เกิดระบบการคุ้มครองทางสังคมในระดับชุมชนที่มีประสิทธิภาพ เสริมกับระบบที่ต้องบริหารจัดการโดยภาคราชการ

3. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

          3.1 จะฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ของทรัพยากรธรรมชาติของจังหวัดได้อย่างไร เพื่อให้

                   - เป็นฐานทรัพยากรทางการพัฒนาด้านต่าง ๆ ของจังหวัดได้อย่างมั่นคงและยั่งยืน

                   - ปัญหาผลกระทบต่อเนื่องจากความเสื่อมโทรมของทรัพยากร เช่น ปัญหาน้ำท่วมและภัยแล้ง ฯลฯ

          3.2 จะขจัดปัญหาที่อาจสร้างความเสื่อมโทรมของทรัพยากรให้เพิ่มขึ้นได้อย่างไร เพื่อให้

                   - ลดภาระที่ภาคราชการจะต้องเข้าไปจัดการเพื่อแก้ไขปัญหา

                   - สามารถที่จะใช้ทรัพยากรธรรมชาติที่มีอยู่ในปัจจุบันในการพัฒนาตามศักยภาพและข้อกำหนดที่มีอยู่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

4. ด้านความมั่นคง

          4.1 จะเพิ่มประสิทธิภาพในการเข้าไปจัดการกับปัญหาด้านความมั่นคงในรูปแบบใหม่ได้อย่างไร เพื่อให้

                   - ปัญหาเหล่านี้ไม่สร้างผลกระทบจนกลายเป็นปัญหาสังคมที่สำคัญและกระทบต่อภาพลักษณ์ของจังหวัด

                   - ปัญหาเหล่านี้ไม่ไปสร้างปัญหาให้พื้นที่อื่น ๆ ของประเทศ

          4.2 จะใช้มาตรการด้านพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมและทรัพยากรธรรมชาติของจังหวัดในการเข้าไปเสริมการป้องกัน/ขจัดปัญหาด้านความมั่นคงในรูปแบบใหม่ได้อย่างไร เพื่อให้

                   - เกิดการแก้ปัญหาที่ต้นเหตุและเป็นการแก้ปัญหาอย่างยั่งยืน

                   - เกิดการเชื่อมโยงการพัฒนาในด้านต่าง ๆ เข้ากับการป้องกันปัญหาด้านความมั่นคงในรูปแบบใหม่อย่างเป็นระบบ

วิสัยทัศน์การพัฒนาของจังหวัดขอนแก่น (Vision)

ขอนแก่นเมืองน่าอยู่ เป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงเครือข่ายการค้า การลงทุน การบริการและการคมนาคมขนส่งในภูมิภาคสู่สากล

พันธกิจ (Mission)

          1. พัฒนาระบบบริหารจัดการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตจังหวัดขอนแก่น ให้มีประสิทธิภาพและทันสมัย ภายไต้หลักธรรมาภิบาล

2. พัฒนาและใช้ประโยชน์จากระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ

          3. พัฒนาเศรษฐกิจฐานราก การค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว ให้เข้มแข็งและแข่งขันได้

          4. พัฒนาระบบโครงข่ายการคมนาคมขนส่ง ระบบบริการสาธารณะ และระบบป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยให้ได้มาตรฐาน มีประสิทธิภาพและทั่วถึง

          5. สนับสนุน ส่งเสริมและพัฒนาด้านการศึกษา ศาสนา ศิลปวัฒนธรรมและการสาธารณสุข เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชน

          6. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อย่างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสม และยั่งยืน

ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดขอนแก่น ประกอบด้วย 5 ยุทธศาสตร์ ดังนี้

          ประเด็นยุทธศาสตร์ที่   1 การพัฒนาเศรษฐกิจให้มีความมั่นคงและมีความสามารถทางการแข่งขัน

          ประเด็นยุทธศาสตร์ที่   2 การพัฒนาคุณภาพคนและสังคม

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่   3 การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่   4 การเสริมสร้างความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่   5 การพัฒนาการบริหารภาครัฐ

แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด เป็นแผนพัฒนาจังหวัดที่มุ่งเน้นในการพัฒนา 3 ระดับ คือ

  1. 1.ระดับชุมชน เพื่อสร้างให้ชุมชนเข้มแข็ง มีความสุข (Happiness community)
  2. 2.ระดับเมือง เพื่อมุ่งสู่การเป็นนครน่าอยู่ (Healthy City)
  3. 3.ระดับภูมิภาค เพื่อก้าวสู่การเป็นศูนย์กลางของภูมิภาคด้านเศรษฐกิจ การคมนาคมและการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ (Hub of Region)
  4. 1. ด้านการศึกษาและวัฒนธรรม

นโยบายการพัฒนาของนายกองค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี

1.1    สนับสนุนและส่งเสริมวัสดุและอุปกรณ์การเรียนการสอน

1.2    อนุรักษ์และส่งเสริมประเพณีของท้องถิ่น

  1. 2.ด้านการสาธารณูปโภคพื้นฐาน

2.1    สนับสนุนและส่งเสริมด้านการคมนาคมให้มีประสิทธิภาพ

  1. 3.ด้านคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดล้อม

3.1    ส่งเสริมด้านการดูแลสุขภาพและสวัสดิการทางสังคม

3.2    ปรับปรุงพัฒนาแหล่งน้ำสาธารณะ

3.3    บริหารจัดการขยะมูลฝอยและสิ่งปฏิกูลในชุมชน

  1. 4.ด้านสังคมและการเมือง

4.1    เสริมสร้างให้ประชาชนมีจิตสำนึกที่ดีต่อส่วนรวมและสังคม

4.2    สนับสนุนทุกภาคส่วนในการส่งเสริมการกีฬาของตำบล

  1. 5.ด้านเศรษฐกิจ

5.1 ส่งเสริมการรวมกลุ่มอาชีพต่าง ๆ

5.2 สร้างศักยภาพทางเศรษฐกิจในลักษณะการมีส่วนร่วมระหว่างองค์กรกับกลุ่มเกษตรกร

  1. 6.ด้านการบริหารจัดการ

6.1    สนับสนุนและส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนในทุก ๆ ด้าน

ความเป็นมา

                    พระราชบัญญัติองค์การบริหารส่วนตำบล พ.. 2537     กำหนดให้องค์การบริหารส่วนตำบลเป็นนิติบุคคล   และเป็นหน่วยหารบริหารราชการส่วนท้องถิ่น ที่มีภารกิจรับผิดชอบต่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต ความเป็นอยู่ของประชาชนในเขตองค์การบริหารส่วนตำบล   ดังนั้น กระบวนการในการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลในยุคโลกาภิวัฒน์ (Globalization)     จึงจำเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องเพิ่มพูนประสิทธิภาพในการพัฒนาท้องถิ่น     โดยการกำหนดยุทธศาสตร์   (Strategy)   และนำเครื่องมือการบริหารที่ทันสมัย       คือกระบวนการวางแผนพัฒนาใช้ให้เกิดประสิทธิผล เพื่อให้มีกระบวนการพัฒนาสภาพความเป็นอยู่ของประชาชนในท้องถิ่นให้ดียิ่งขึ้น โดยการประสานแนวทางในการวางแผนให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ , ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดและยุทธศาสตร์การพัฒนาอำเภอ

                    ตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 ได้มีการบัญญัติหลักการปกครอง โดยให้ท้องถิ่นมีอิสระในการกำหนดนโยบายการ บริหารงานบุคคลการคลัง ภายใต้การกำกับดูแลของหน่วยงานภาครัฐและการตรวจสอบของภาคประชาชน  

                    ในการพัฒนาท้องถิ่นได้มีการกำหนดให้มีการจัดทำแผนเป็นการกำหนดนโยบาย ในการพัฒนาท้องถิ่นเพื่อใช้เป็นทิศทางและแนวทางในการพัฒนาเพื่อให้ได้บรรลุถึงเป้าหมายของยุทธศาสตร์ในการพัฒนา โดยตามแนวทางพัฒนานั้น

ความเป็นมาของแผนพัฒนาสามปี

                    กระทรวงมหาดไทย ได้กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น จะต้องจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรเอง โดยให้ดำเนินการตามระเบียบของกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.ศ. 2548 ซึ่งได้กำหนดให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นจัดทำแผนพัฒนาขึ้น

ในการจัดทำแผนพัฒนาสามปีขององค์การบริหารส่วน   ได้กำหนดแนวทางการพัฒนาโดยใช้แผนเป็นเครื่องมือในการดำเนินการ เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์และเป้าหมายที่กำหนดไว้อย่างมีประสิทธิภาพโดยเน้นหนักในการพัฒนาทุกสาขา

แผนพัฒนาสามปี   หมายถึง   แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาอันมีลักษณะเป็นการกำหนดรายละเอียดแผนงานโครงการพัฒนาที่จัดทำขึ้นสำหรับปีงบประมาณแต่ละปี   ซึ่งมีความต่อเนื่องและเป็นแผนก้าวหน้าครอบคลุมระยะเวลา 3 ปี โดยมีการทบทวนเพื่อปรับปรุงเป็นประจำทุกปี

                    แผนพัฒนาสามปี เป็นการแปลงยุทธศาสตร์การพัฒนาไปสู่การปฏิบัติ โดยมีหลักคิดที่ว่าภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาใด ๆ จะมีแนวทางการพัฒนา ได้มากกว่า 1   แนวทางและภายใต้แนวทางการพัฒนาจะ สามารถบรรลุแผนงานโครงการ / กิจกรรม ได้มากกว่า 1 โครงการ ที่จะต้องนำมาดำเนินการเพื่อให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ เป้าหมาย จุดมุ่งหมายการพัฒนาอย่างยั่งยืน และวิสัยทัศน์ในที่สุด

                    นอกจากนี้   แผนพัฒนาสามปีขององค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี   ยังเป็นแผนที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับงบประมาณรายจ่ายประจำปี กล่าวคือ   องค์การบริหารส่วนตำบลใช้การวางแผนพัฒนาเป็น เครื่องมือในการจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำ โดยนำโครงการ / กิจกรรมจากแผนพัฒนาสามปีในปีที่จะจัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีไปจัดทำงบประมาณ   เพื่อให้กระบวนการจัดทำงบประมาณเป็นไปด้วยความรอบคอบและผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน ดังนั้น   แผนพัฒนาสามปีขององค์การบริหารส่วนตำบล จึงเป็นเอกสารแผนพัฒนาที่มีความต่อเนื่องจากยุทธศาสตร์การพัฒนาและมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับงบประมาณประจำปี กล่าวคือ   เป็นการนำเอาโครงการ / แผนงานกิจกรรมกำหนดไว้ในแผนพัฒนาสามปี   มาพิจารณาดำเนินการสำหรับปีนั้น ๆ รายละเอียดแผนงาน / โครงการพัฒนาสามปี จึงมีสภาพความพร้อม ดังนี้

  1. 1.มีความแน่นอนของกิจกรรมที่จะดำเนินการโดยจะมีการประเมินถึงความเป็นไปได้ของโครงการ

/ กิจกรรม รวมทั้งผลประโยชน์สาธารณะที่จะได้รับจากโครงการ / กิจกรรม

  1. 2.กิจกรรมที่อยู่ในแผนประจำปีแรกของห้วงระยะเวลา 3 ปี จะมีความพร้อมในเรื่องรูปแบบและ

รายละเอียดทางเทคนิคพอสมควร เพื่อให้สามารถกำหนดรายการแผนพัฒนาที่จะนำไปใช้จัดทำงบประมาณรายจ่ายประจำปีได้ต่อไป

1.1 ลักษณะของแผนพัฒนาสามปีขององค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี

1.1.1 เป็นแผนงานโครงการเพื่อแก้ไขปัญหา ตอบสนองความต้องการของประชาชนในชุมชน

ตอบสนองนโยบายและพัฒนาศักยภาพของท้องถิ่น

1.1. 2 เป็นแผนงานโครงการที่สอดคล้องกับยุทธศาสตร์การพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล

1.1.3 เป็นแผนพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลที่มีความต่อเนื่องเป็นระยะเวลา 3 ปี

1.1.4 เป็นโครงการที่เน้นปฏิบัติจริง (PROJECT ORIENTED) ซึ่งโครงการเหล่านี้อาจจะเป็นโครงการที่

นอกเหนือจากอำนาจหน้าที่หรือเขตพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลแต่มีผลกระทบหรือมีความสำคัญและมีความจำเป็นต่อการพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำบลก็สามารถบรรจุอยู่ในแผนได้โดยการประสานงานขอความร่วมมือกับหน่วยดำเนินงานนั้น ๆ เพื่อการพัฒนาอย่างเป็นระบบ

1.1.5 มีองค์กรในรูปคณะกรรมการรับผิดชอบในการทำที่ชัดเจตหลายระดับ   ซึ่งแต่ละคนระดับ ก็จะมี

จุดมุ่งหมายและบทบาทเป็นการเฉพาะเรื่อง   เพื่อให้เป็นแผนที่สอดคล้องทั้งจากระดับสูงและระดับล่าง (TOP DOWN BOTTOM PLAN)

1.1.6 แผนพัฒนาสามปีขององค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี จะมีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์

การพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี ยุทธศาสตร์การพัฒนาอำเภอเมือง ยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดขอนแก่น สอดคล้องกับวาระแห่งชาติและแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติด้วย

1.1.7 แผนพัฒนาสามปีองค์การบริหารส่วนตำบลเป็นแผนงาน / โครงการ ที่ดำเนินการพื้นที่องค์การบริหารส่วนตำบลและจะต้องดำเนินการพัฒนาให้เป็นไปตามภารกิจ อำนาจหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนตำบล โดยใช้แผนพัฒนาสามปีเป็นเครื่องมือในการดำเนินการ ซึ่งการจัดทำแผนพัฒนาสามปีขององค์การบริหารส่วนตำบลจะต้องเป็นไปตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการจัดทำและประสานแผนพัฒนาขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น พ.. 2548 (และแก้ไขจนถึงฉบับปัจจุบัน)

แสดงขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาสามปีตามระเบียบกระทรวงมหาดไทย

ว่าด้วยการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น   พ.ศ. 2548

 ขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนา 3 ปี

 

1.2   วัตถุประสงค์ในการจัดทำแผนพัฒนาสามปีขององค์การบริหารส่วนตำบล (..2556-2558)  

1.2.1 เพื่อเป็นการกำหนดทิศทางนโยบายการพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำบลในอนาคต

1.2.2 เพื่อเป็นการกำหนดและตัดสินใจล่วงหน้าว่าจะดำเนินงานอะไร ที่ไหนอย่างไร เมื่อใดใครเป็นคนดำเนินงานหรือรับผิดชอบ

1.2.3 เพื่อให้การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำบลเป็นไปโดยสอดคล้องกับสภาพปัญหาและความต้องการ

ที่แท้จริงของประชาชน ในการที่จะกำหนดแนวทางการแก้ไขปัญหา และพัฒนาชีวิตความเป็นอยู่ ตลอดจนการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม การเมือง การบริหาร

1.2.4 เพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของท้องถิ่นตาม

ภารกิจอำนาจหน้าที่ที่รับผิดชอบหรือเกี่ยวข้อง

1.2.5 เพื่อระดมความคิดเห็น และความร่วมมือของทุกฝ่าย ตลอดจนการมีส่วนร่วมของประชาชนให้ ประสาน

สอดคล้องกันในการดำเนินงาน เพื่อให้มีการระดมใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ในพื้นที่มาใช้ในการพัฒนาให้เกิดประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดในการพัฒนา

1.2.6 เพื่อเป็นการเตรียมโครงการพัฒนาด้านต่าง ๆ ให้อยู่ในลักษณะพร้อมบรรจุในเอกสารการจัดทำ

งบประมาณรายจ่ายประจำปี พ.. 2556 ขององค์การบริหารส่วนตำบล ตลอดจนการเตรียมโครงการพัฒนาเพื่อขอสนับสนุนเงินอุดหนุนเฉพาะกิจ หรือเงินอุดหนุนประเภทอื่น ๆ และนำไปปฏิบัติได้ทันทีเมื่อได้รับงบประมาณ

1.2.7 เพื่อแสดงจุดมุ่งหมายและแนวทางการพัฒนาตามยุทธศาสตร์การพัฒนาขององค์การบริหารส่วนตำบลใน

ปี พ.. 2556-2558 โดยให้มีความสอดคล้องและสนองตอบต่อวัตถุประสงค์และเป้าหมายในภาพรวมของการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบล

1.2.8 เพื่อให้บริหารขององค์การบริหารส่วนตำบลสามารถนำแผนพัฒนาสามปีมาดำเนินการตามยุทธศาสตร์

เกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชนและองค์การบริหารส่วนตำบลโดยส่วนรวม

1.3 องค์ประกอบและวิธีการจัดทำแผนพัฒนาสามปีขององค์การบริหารส่วนตำบล

หลังจากที่องค์การบริหารส่วนตำบลประกาศใช้แผนยุทธศาสตร์การพัฒนาแล้วการดำเนินการต่อไป

จะเป็นการแปลงแผนยุทธศาสตร์ไปสู่การปฏิบัติ   โดยการจัดทำแผนพัฒนาสามปีจึงกำหนดขั้นตอนการจัดทำแผนพัฒนาสามปี ดังนี้

          1. ผู้รับผิดชอบการจัดทำแผนพัฒนาเข้าพบผู้บริหารท้องถิ่น เพื่อชี้แจงวัตถุประสงค์ความสำคัญในการจัดทำแผนพัฒนาสามปี และเสนอแผนงาน/โครงการให้ผู้บริหารพิจารณาและให้คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นและคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นพิจารณา

          2. ประชุมคณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่น สรุปยุทธศาสตร์ และแนวทางการพัฒนาพร้อม ข้อมูลและปัญหาความต้องการของประชาชน และคัดเลือกยุทธศาสตร์การพัฒนา เพื่อร่วมกันพิจารณาการจัดทำแผนพัฒนาสามปี และเมื่อได้แนวทางการพัฒนาแล้วให้จัดประชุมประชาคมแต่ละหมู่บ้านร่วมกัน เสนอโครงการกิจกรรมที่ต้องดำเนินการพัฒนาก่อนหลังตามความจำเป็นการเก็บรวบรวมข้อมูลและการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้หลักการ SWOT

3. คณะกรรมการสนับสนุนแผนพัฒนาท้องถิ่นรวบรวมประเด็น ปัญหาความต้องการ หลักการที่ จะต้อง

พัฒนา เพื่อนำมาจัดทำร่างแผนพัฒนาสามปีเสนอต่อคณะกรรมการ

4. การกำหนดวัตถุประสงค์ของแนวทางการพัฒนา

5. จัดทำรายละเอียดของโครงการ/กิจกรรมให้มีความสอดคล้องกับแนวทางของแผนพัฒนาสามปี

6. คณะกรรมการสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาท้องถิ่นพิจารณาร่างแผนพัฒนาสามปี และเสนอต่อ คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นพิจารณา

7. คณะกรรมการพัฒนาท้องถิ่นพิจารณาร่างแผนพัฒนาและคณะผู้บริหารพิจารณาเสนอแล้ว นำเสนอต่อ

คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่น

8. คณะกรรมการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นพิจารณาให้ความเห็นชอบ ร่างแผนพัฒนาสามปีภายใน กำหนด

สามสิบวันตั้งแต่ที่ได้รับร่างแผนจากผู้บริหารท้องถิ่น

9. ผู้บริหารท้องถิ่นนำร่างแผนพัฒนาเสนอต่อสภาเพื่อขออนุมัติจากสภาท้องถิ่น

10. สภาท้องถิ่นพิจารณาร่างแผนพัฒนาสามปีภายในกำหนด สามสิบวัน เมื่อพิจารณาอนุมัติแล้ว ผู้บริหาร

ท้องถิ่นประกาศใช้แผนพัฒนาสามปี

ผลที่คาดว่าจะได้รับ

1. ทำให้เกิดการประสานการดำเนินการพัฒนาในเขตพื้นที่ขององค์การบริหารส่วนตำบลอย่างเป็นระบบระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องโดยจะช่วยลดปัญหาความซ้ำซ้อนและความขัดแย้งตลอดจนเป็นการประหยัดทรัพยากรทางบริหาร

          2. องค์การบริหารส่วนตำบลมีทิศทางและแนวทางการพัฒนาที่ชัดเจนสามารถแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นตลอดจนตอบสนองความต้องการของประชาชน   สนองตอบนโยบายระดับต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องและพัฒนาศักยภาพของท้องถิ่นที่มีอยู่ให้สูงขึ้น

          3. ทำให้เกิดกระบวนการตรวจสอบ ติดตาม และควบคุมดำเนินงานโครงการพัฒนาต่าง ๆ ในองค์การบริหารส่วนตำบล

4. ทำให้การบริหารและการพัฒนามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

5. ทำให้เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาสังคมอย่างเป็นรูปธรรม

1.4 ประโยชน์ของการจัดทำแผนพัฒนาสามปีขององค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี (.ศ2556-2558)

- ทำให้เกิดการประหยัดสามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยู่ได้อย่างถูกต้องเหมาะสมและเป็นประโยชน์ต่อประชาชนในท้องถิ่น

-ทำให้การบริหารเงินงบประมาณเป็นไปอย่างคุมค่า มีประสิทธิภาพและเกิดประโยชน์สูงสุดกับประชาชน

- ทราบรายละเอียดต่างๆ ของแผนงาน / โครงการพัฒนาและกิจกรรมการพัฒนาที่ดำเนินการในพื้นที่ในช่วงสามปี

- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้มีแผนการพัฒนาสามปีที่ตอบสนองต่อปัญหาความต้องการของประชาชน ภายใต้ศักยภาพขององค์การบริหารส่วนตำบลโคกสี

- องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นมีกรอบและแนวทางในการพัฒนาในระยะกลาง

- เป็นเครื่องมือในการประสานแผนพัฒนาท้องถิ่นระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบลกับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นอื่นๆ และระหว่างองค์การบริหารส่วนตำบลกับส่วนราชการต่างๆ

          - มีกิจกรรมในการเพิ่มทักษะและขีดความสามารถของบุคลากรภายในองค์การบริหารส่วนตำบล

          - เป็นเครื่องมือสำคัญในการบริหารงบประมาณของผู้บริหารท้องถิ่น ให้สามารถควบคุมการดำเนินงานให้เป็นไปอย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ

          - เกิดการประสานการพัฒนาที่สอดคล้องกันทั้งในระดับส่วนกลาง ส่วนภูมิภาคและส่วนท้องถิ่น

หมวดหมู่รอง

ประกาศจัดซื้อ-จัดจ้าง

การเปิดเผยราคากลาง การคำนวณราคากลางและใช้ราคากลางโครงการก่อสร้างถนน คสล. สายคลองชลประทาน หมู่ที่ ๕ บ้านหนองเต่า
การเปิดเผยราคากลาง การคำนวณราคากลางและใช้ราคากลางโครงการก่อสร้างถนน คสล. สายสถานีตำรวจภูธรเมืองไหม ถึง ด้านหลัง มจร. หมู่ที่ ๑ บ้านโคกสี
การเปิดเผยราคากลาง การคำนวณราคากลางและใช้ราคากลางโครงการก่อสร้างถนน คสล. เส้นบ้านแม่ยูร บ้านพรหมนิมิต หมู่ที่ ๔
การเปิดเผยราคากลาง การคำนวณราคากลางและใช้ราคากลางโครงการก่อสร้างขุดลอกร่องระบายน้ำจากหน้าบ้านนางเกียงลม - บ้านนายออน หมู่ที่ ๑๑ บ้านท่าพระทราย
การเปิดเผยราคากลาง การคำนวณราคากลางและใช้ราคากลางโครงการก่อสร้างร่องระบายน้ำเสียสองข้างทางภายในหมู่บ้าน หมู่ที่ ๑๐ บ้านบึงเรือใหญ๋
ประกาศ ราคาประเมินทุนทรัพย์ของที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง(ภ.ด.ส.1) ประจำปี ๒๕๖๗
ราคาประเมินทุนทรัพย์ของที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง (ภ.ด.ส.1) ประจำปี ๒๕๖๗
การเปิดเผยราคากลาง การคำนวณราคากลางและใช้ราคากลางโครงการก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็กเส้นทางทิศเหนือวัดท่ายางชุม หมู่ที่ ๓ บ้านยางหย่อง
การเปิดเผยราคากลาง การคำนวณราคากลางและใช้ราคากลางโครงการก่อสร้างถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก จำนวน ๒ ช่วง สายบ้านนางคำพอง - บ้านนางพรรณี หมู่ที่ ๖ บ้านหนองหัววัว